Page 81 -
P. 81
ิ
ื
ั
ิ
ิ
ิ
์
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
55
พื้นที่ในงานศิลปะไดผานการแสดงออกในรูปแบบที่แตกตางกันตามยุคสมัย ซึ่งสงผลตอ
ทาทางและตำแหนงของผูชมในพื้นที่ของการรับรูผลงานศิลปะ บิชอพไดยกตัวอยางการติดตั้งผลงาน
ของชิลโด เมยเรเลส (Cildo Meireles) ในผลงานที่ชื่อวา Missao/Missoes หรือ Misson/Missons
(How to Build Cathedrals) ในป ค.ศ. 1987 ที่ศิลปนสรางพื้นที่ใหผูชมเขาไปดูรายละเอียดของ
่
ู
ี
ผลงานงานทีประกอบดวยเหรียญ 600,000 เหรียญ ถาดศลมหาสนิท 800 ใบ และกระดกวัวที ่
ื
้
ถูกแขวนจำนวน 2,000 ชิน ตัวผลงานมีลักษณะเหมอนพิธีกรรมทางศาสนาและการเสี่ยงทายบอน้ำ
ศักดิ์สิทธิ์ แตในความหมายของศิลปนที่นำเสนอภาพสะทอนของความเชื่อและศรัทธา ที่สงผลตอความ
รุนแรงในการครอบงำแบบอาณานิคม ผลงานนี้ยังเปนเรื่องเกี่ยวกับชาวยุโรป โดยเฉพาะเยซูอิตในทวีป
ี่
ึ่
อเมริกาในชวงป ค.ศ. 1610 – 1767 ทอยูภายใตอำนาจการปกครองของสันตะปาปา ซงศิลปนไดใช
ุ
สัญลักษณของพลังทางวัตถและจิตวิญญาณ เพอสื่อใหเห็นถึงความสัมพันธสูงสุดของมนุษยชาติที่มีมา
ื่
ตั้งแตอดีต ซึ่งพื้นที่ในการติดตั้งผลงานบิชอพเห็นดวยกับศิลปน และนักวิจารณหลายคนทีใหเหตุผลวา
่
ความจำเปนในการเคลื่อนไหวไปรอบๆ และเดินผานผลงานเพื่อการสัมผัสประสบการณนั้นชวยกระตุน
ผูชม ซึ่งตรงขามกับศิลปะที่เพียงแคตองการการพินิจพิเคราะหทางสายตา (ซึ่งถือวาเปนการรับชมท ี่
เฉื่อยและแยกตัวออกมา) (Bishop, 2005, p. 11)
ี่
ผลงานการติดตั้งอีกชิ้นททำใหพื้นที่ในการรับรูตัวผลงานไดถูกเปดเผย และระยะในการเขาถึง
ู
ของผูชมไดถกกำหนดโดยผูชมเองอยางผลงานของแอน แฮมิลตัน (Ann Hamilton) ผลงานที่ชื่อวา
ิ
Tropos ในป ค.ศ. 1993 ศลปนไดจัดวางขนมาจำนวนมากไวบนพื้น และมีที่นั่งสำหรับอานหนังสือ
ี่
โดยผูชมสามารถใชอุปกรณคลายปากกาไฟฟาทใหผูอานนำไปทาบบนตัวหนังสือทอานไปแลว จนเกิด
ี่
รอยไหมและกลิ่นของตัวหนังสือที่ไหมผสมผสานกับกลิ่นขนมา สวนหนังสือที่จัดวางไวใหผูชมสามารถ
เลือกดวยตัวเอง ซึ่งตัวศิลปนไมไดเจาะจงหนังสือ เพียงแตสั่งมาจากรานหนังสือมอสอง บางเลมก็เปน
ื
แคตัวหนังสือสวนการเลือกเปนของผูชมเอง รองรอยของเวลาที่ถูกทำใหเห็นในตัวหนังสือที่ถูกเผาตาม
จังหวะของผูอานแตละคน วัสดุในงานของแฮมิลตันไมไดทำงานในเชิงสัญลักษณ (เชน การเปนตัวแทน
อางอิงธรรมชาติ วิทยาศาสตร หรือสัตวตางๆ เปนตน) แตพยายามกระตุนใหผูชมเกดกระบวนการ
ิ
ตอบสนองเชิงเชื่อมโยงในแบบเฉพาะตัว (Bishop, 2005, p. 39 - 41) โดยใหผูชมตีความในการรับรู
ของตัวเองและใหความสัมพันธของประสาทสัมผัสกับโลกภายนอกทางกายภาพผานความทรงจำ ซึ่ง
ถูกเชื่อมโยงแบบไมรูตัว
การติดตั้งผลงานศิลปะการจัดวางเปดเผยความคิดของศิลปน โดยเปดโอกาสใหการรับรูของ
ผูชมทำงานผานประสาทสัมผัสทุกสวน เพื่อสรางสภาวะทีดื่มด่ำและไรขอบเขตใหกับผูชม การหนักรูใน
่
ี่
ู
ตนเองทมากขึ้นจากการรับรูเชิงปรากฏการณถกแทนที่ดวยการเชื่อมโยงสวนบุคคล และดวยความ
ี่
พยายามที่จะเปดเผย “ความจริง” ของสภาวะทเราถกทำใหเปนปจเจกที่ไรศูนยกลางและไมมีขอสรุป
ู
ศิลปะการจัดวางชี้ใหเห็นวาเราสามารถปรับตัวใหเขากับรูปแบบนี้ได และดวยเหตุนี้จึงมีความพรอม