Page 79 -
P. 79
ิ
ั
ุ
์
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ื
53
ึ
นิยามแบบเกา แลวนิยามทุกนิยามที่เคราสอธิบายใหเห็นถงการยืดขยายของขอบเขต และความหมาย
ิ
ที่ศิลปนไดสรางสรรคขึ้นมาตั้งแตยุค 60s – 70s โดยเฉพาะศิลปะในกลุมภูมศิลปหรือแลนดอารต
(Land art) ลวนสงผลตอแนวคิดและวิธีการสรางสรรคผลงานศิลปะ รวมถึงการแตกและแยกยอย
ิ
ั
ี
ี่
แนวคิดทางศิลปะทแตกตางกนไปอยางที่เราเห็นไดในงานศลปะยุคปจจุบัน อกทั้งการนิยามคำเพื่อ
เขาถึงความหมายที่แทจริงของงานและโลกอยางทมันเปน ซึ่งรวมถึงการนิยามงานประติมากรรมและ
ี่
ผลงานที่กินพื้นที่ในการติดตั้งไดขยายขอบเขตไปจากเดิม ทั้งในแงของมุมมองการรับรูและการให
ื
ความหมาย ทีถอเปนจุดเริ่มตนของการนิยามงานศิลปะรวมสมัยที่เรียกวา ศิลปะการจัดวาง
่
(installation art)
ั
แคลร บิชอพ (Claire Bishop) นักประวัติศาสตรศิลป นักวิจารณและภัณฑารักษชาวองกฤษ
ที่มีมุมมองกับการเปลี่ยนแปลงโลกศิลปะรวมสมัยที่นาสนใจ โดยมองวาหนาที่ของศิลปะไดไปเชื่อม
ความสัมพันธและการมีสวนรวมของสังคม โดยเขาสูยุคที่ศิลปนและผูชมทมีสวนรวมในการรับรูและ
ี่
การแสดงออกในงานมากขึ้น พื้นทในงานศลปะ ตำแหนงและมุมมองของผูชมกเปลี่ยนแปลงไป จาก
็
ี่
ิ
ประสบการณในการรับชมศิลปะในประเภทตางๆ เหลานี้บงชี้วา ปจจัยในความแตกตางกันของ
ประวัติศาสตรศิลปะจัดวางคือ สิ่งที่ตองใหความสนใจไมใชแคเนื้อหาหรือตัวผลงาน แตควรให
ความสำคัญที่ประสบการณของผูชม (Bishop, 2005, p. 8)
ภาพที 2.10 Claire Bishop
่
หมายเหตุ. จาก https://msu.mk/event/public-lecture-of-claire-bishop/
พื้นที่ของการแสดงออกในงานศิลปะสงผลตอการรับรูงานศิลปะของผูชม จากเรื่องพื้นที่ใน
การรับรูที่เคยเปนขอจำกัดในเรื่องการมองดวยสายตา ระยะและการตีความที่เกิดจากการแสดงออกใน
รูปแบบตางๆ ขอศิลปน ซึ่งการมีสวนรวมในประสบการณทางสุนทรียะของผูชมไดชวยใหสามารถเขา
ึ
ใกลงานไดมากขึ้นทั้งทางกายภาพและทางความคิด รวมถงการติดตั้งผลงานไดชวยในเรื่องการสำรวจ
สภาพแวดลอมทอยูรอบๆ ตัวผลงาน ศิลปะการจัดวางในทศวรรษ 1980s โดดเดนดวยขนาดอันมหึมา
ี่
และมักขยายขอบเขตของศิลปะการจัดวางที่มีความทะเยอทะยานและดึงดูดสายตาซึ่งเปนที่แพรหลาย