Page 78 -
P. 78

ั
                                                              ิ
                                                   ิ
                                                                                       ุ
                                   ิ
                                ื
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                            ิ
                                               ์
               52


                                
                              ็
               เพื่อมาเทใสโรงเกบฟนประมาณ  20  รอบ  จนโครงสรางของคานโรงเก็บฟนคอยๆ  พังแลวทรุดลงมา
                      
               เพื่อสะทอนเรื่องระบบกับความไมเปนระเบียบกับโครงสรางทางสังคม  และโครงสรางทถูกทำลายลง
                                                                                        ี่
                                                                                   ี่
               โดยธรรมชาติ  ซึ่งแตเดิมสมิธสันตั้งใจจะสรางประติมากรรมที่มีลักษณะแบบโคลนทไหลลงมา  แตดวย
               อากาศที่หนาวจึงไดสรางงานชิ้นนี้ขึ้นมาแทน   ซงอกไมกี่เดือนตอมาเกดเหตุการณโศกนาฏกรรมท ี่
                                                          ึ่
                                                                            ิ
                                                            ี
               มหาวิทยาลัยเคนส  สเตท  นักศึกษารวมตัวกันเพื่อประทวงรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเรื่องการมีสวนใน
               สงครามเวียดนาม แตนักศึกษากลับถูกปราบปรามดวยอาวุธอยางรุนแรงทำใหมผูเสียชีวิตและบาดเจ็บ
                                                                                 
                                                                                ี
                       ผลงานอีกชิ้นในนิยามของ Site – construction อยางผลงานชื่อ Observatory ของโรเบิรต
               มอริส (Robert Morris) สรางขึ้นในป ค.ศ. 1971 ที่ประเทศเนเธอรแลนด ซึ่งตอมาไดรื้อและนำมา
                       
               สรางใหมในป ค.ศ. 1977 คำวา Observatory หมายถึง หอดูดาว มีลักษณะเปนโครงสรางแบบเนินดิน
                                     ื
               วงกลม ดานหนึ่งมีชองเหมอนคูน้ำและอีกดานสามารถมองทะลุไปที่เนินดินอีกดานที่มีรู สวนวัสดุดาน
               ในประกอบดวยโครงสรางไมและเหล็ก  ซึ่งเนินดินทั้งหมดปกคลุมดวยหญาสีเขียว  ในบางชวงเวลา
                                        ึ้
               สามารถมองเห็นดวงอาทิตยขนลอดจากชองในชวงเวลาที่กลางวันทั้งยาวและสั้นที่สุด   มอริสได 
               สรางสรรคผลงานชิ้นนี้เพื่อใหผูชมไดรับรูความงามจากดวงอาทิตย  ตองการใหประสบการณของผูชม

               สรางปฏิสัมพันธกับวัฏจักรแหงฤดูกาลเชื่อมโยงกับประวัติศาสตรแหงโลกโบราณ   เคราสยังนิยาม
               ผลงานชิ้นนี้วาเปนสโตนเฮนตในโลกยุคสมัยใหม  



















               ภาพที่ 2.8 Partially Buried Woodshed             ภาพที่ 2.9 Observatory

               หมายเหตุ. จาก holtsmithsonfoundation.org/     หมายเหตุ. จาก socks-studio.com/2014/10/29
               partially-buried-woodshed               the-observatory-by-robert-morris-1971/

                                                                                        ั้
                       โครงสรางแบบสถาปตยกรรมกับพื้นททางภูมทัศนทมีความสัมพันธกัน    ทงเนื้อหาและ
                                                                 ี่
                                                     ี่
                                                           ิ
                                       ิ
               ความหมายจากแนวคิดของศลปน  ไมไดถูกจำกัดแคสื่อบางสื่อและรูปแบบการแสดงออกแบบเดิมอีก
                                       ั
                 
               ตอไป สำหรับสภาวะหลังสมยใหม (Postmodernism) การปฏิบัติการไมไดถูกนิยามในความสัมพันธ
                                            
                                                                            
                                                                ื่
               ของสื่อแคประติมากรรม แตการดำเนินการเชิงตรรกะบนเงอนไขทางวัฒนธรรม สำหรับทุกๆ สื่ออยาง
               ภาพถาย หนังสือ เสนสายบนผนัง กระจก หรือประติมากรรมเองก็อาจถูกนำมาใช (Krauss, 1979, 30
               –  44)  เห็นไดชัดเจนวาความหลากหลายของสื่อตางๆ  ในการสรางสรรคไดถูกขยายขอบเขตไปจาก
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83