Page 73 -
P. 73
ิ
ิ
ั
์
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
47
ภาษาละตินในป ค.ศ. 1435 โดยเลออน บัตติสตา อัลแบรตี (Leon Battista Alberti) สถาปนิกและ
ศิลปนชาวอิตาเลียน อัลแบรตีพยายามถอดรหัสหลักการนำเสนอทัศนมิติเชิงเสนดวยหลักคณิตศาสตร
ี่
ุ
หลักการดังกลาวเปนเทคนิคททำใหสามารถนำเสนอวัตถ และพื้นที่ทางสถาปตยกรรมรวมกันอยาง
ู
ื
้
เปนระบบ ทำใหดสมจริงบนพนผิวราบเรียบของงานจิตรกรรม หรือประติมากรรมโดยอาศัยการ
ลากเสนเชิงตั้งฉาก (orthogonal line) ไปหาจุดรวมสายตา (vanishing point) เพียงจุดเดียว ซึ่งจะ
สมบูรณแบบหากจุดที่วาถกจัดวางอยูในระดับสายตา (Johnson, 2557, p. 109) การทำใหทุกอยางใน
ู
สายตาของศิลปนอยูบนแผนระนาบและใหดูสมจริง นั่นคอความงามในยุคคริสตศตวรรษที่ 15
ื
ภาพท 2.1 Architectural Veduta
ี่
หมายเหตุ. จาก https://artsandculture.google.com/asset/architectural-veduta-francesco-di-giorgio-
martini-attributed/kAGQtjZedrY6Xw?hl=en
ภาพจิตรกรรมของฟรานเชสโก ดิ จอรจิโอ มารตินี (Francesco di Giorgio Martini)
สถาปนิกชาวอิตาเลียนในผลงานที่ชื่อวา Architectural Veduta ราวป ค.ศ. 1490 เปนอีกหลักฐาน
ุ
หนึ่งที่มีการใชมมมองแบบนำสายตามาทำใหภาพมีระยะและความลึก โดยใชรูปทรงและโครงสราง
ื่
ทางสถาปตยกรรมเปนเสนฉายภาพ เพอนำสายตาของผูชมไปสูเสนขอบฟาในระยะไกลที่มีลักษณะ
เหมือนพื้นน้ำ โดยมีภูเขาและเรือที่สรางบรรยากาศใหเปนทองทะเล ทั้งขนาดและน้ำหนักสีของเสาใน
ั
ระยะหนา รวมถึงเสนนำสายตาที่อยูบนพื้นมสวนที่สำคญในการทำใหภาพดูลึก และเปนการสรางพื้นท ี่
ี
ในผลงานศิลปะใหดูมีมิติสมจริงจากมมมองของผูชมผานผืนผาใบ ศิลปนในยุคเรอเนซองสยังไดสราง
ุ
เครื่องมือสำหรับกระบวนการสรางสรรคผลงานจิตรกรรมใหดูสมจริงแทนสายตาของมนุษย จาก
รายละเอียดในผลงานภาพพิมพแกะไมที่ชื่อวา Man Drawing a Lute ในป ค.ศ. 1525 ของอัลเบร็ชท
ดือเรอร (Albrecht Dürer) จิตรกรชาวเยอรมัน ที่ในภาพแสดงใหเห็นการทำงานของศลปนในการวัด
ิ
สัดสวนของสิ่งที่ตองการจะวาดลงบนผืนผาใบ มีการใชกรอบและเสนเพอวัดระยะการมองวัตถกับ
ุ
ื่