Page 68 -
P. 68
์
ิ
ิ
ิ
ั
ิ
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
42
ของภาพและตัวหนังสือที่เปลี่ยนไปตามผังเมืองของเมองตางๆ ในผลงานที่ชื่อวา The Legible City ใน
ื
ื
ป ค.ศ. 1989 ของเจฟฟรีย ชอว (Jeffrey Shaw) ที่สรางบรรยากาศใหเหมอนการเดินทางโดยใช
จักรยานเปนพาหนะไปสูเมืองแหงตัวหนังสือ ซึ่งถอเปนประสบการณที่นาสนใจที่ผูชมสามารถรับรูถึง
ื
ื
เรื่องราวของเมองจากการเดินทางผานตัวหนังสือ พรอมกับความหมายของคำที่เปลี่ยนไปตามภาพ
ื
จำลองตามทองถนน ที่มีภาพกราฟกแบบเสมอนจริงทอยูตรงหนาของผูชม
ี่
การรับรูผลงานศิลปะผานรางกายโดยมเทคโนโลยีดิจิทัลเปนอปกรณชวยในการรับรู และ
ี
ุ
่
ุ
ควบคมการเปลียนแปลงของผลงานศิลปะการจัดวาง ที่ไดติดตั้งอุปกรณรับสงสัญญาณดิจิทัลเพื่อการ
ั
แสดงผลที่แตกตางโดยใชเพียงอุปกรณโทรศพทในมือของผูชม ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตัวผลงานที ่
สงผลตอการรับรูของผูชม ในป ค.ศ. 2001 ทีมแลป (teamLab) ไดกอตั้งขึ้นโดยกลุมคนหลากหลาย
อาชีพ ทั้งศิลปน วิศวกร โปรแกรมเมอร สถาปนิก และกราฟกดีไซเนอร เปนตน ที่ใชดิจิทัลเปนสื่อใน
ิ
ื่
การแสดงออกเพอเชื่อมโยงศลปะกับสภาพแวดลอมในธรรมชาติและเรื่องราวตางๆ ที่อยูรอบๆ ตัวของ
มนุษย ผลงานที่ชื่อวา Crystal Universe ในป ค.ศ. 2016 ที่ใหผูชมไดตอบโตกับผลึกแกวที่เปนหลอด
ื่
LED จำนวนมากที่ติดตั้งเพอใหผูชมสามารถเขาไปในพื้นที่และควบคุมการเปลี่ยนแปลงของสี แสง
และจังหวะตางๆ ดวยสมารทโฟน
ภาพที่ 1.43 Crystal Universe
หมายเหตุ. จาก www.teamlab.art/th/w/dmm-crystaluniverse/
่
สวนการรับรูผลงานศิลปะการจัดวางแบบอิมเมอรซีฟ ทีใชการพัฒนาเทคโนโลยีและอุปกรณ
ที่ชวยในการสรางภาพเสมอนจริง เพื่อใหผูชมเขาถึงไดอยางเต็มที่ของประสาทสัมผัสในการรับรู โดย
ื
การนำเสนอทีผานการติดตั้งผลงานอาจเปนเพียงการนำผลงานของศิลปนในอดีต หรือศิลปะระดับ
่
ี
่
มาสเตอรพีซที่ผูคนรูจักเปนอยางดีมานำเสนอในรูปแบบใหม ทีผานการฉายภาพแบบอิมเมอรซฟ