Page 72 -
P. 72

ิ
                                                   ิ
                                                                                       ุ
                                                                               ั
                                   ิ
                                ื
                                               ์
                                            ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               46


                                                                                  ี่
                                                               ี่
                       บทนี้เปนเรื่องพื้นที่ (site) ในความหมายของพื้นทการรับรูในงานศิลปะ ทพัฒนาไปสูพื้นที่ของ
                                                               ั
               การติดตั้ง  ซึ่งในพื้นทของการติดตั้งยอมมีความสัมพันธกบเรื่องเวลา  และความหมายของพื้นที่วาง
                                  ี่
                                                                 ี่
                                                                                       ี
               (space) ที่สัมพันธกับการรับรู แตผูเขียนเลือกใชคำวา พื้นท (site) ที่เปนกายภาพและมความสัมพันธ
               กับแนวคิดและรูปแบบของงานศิลปะที่สงผลตอการติดตั้ง  โดยเฉพาะศิลปะการจัดวาง  (Installation
               art) และสัมพนธกบคำวา Site – Specific พื้นที่เฉพาะที่หมายถึงพื้นที่ของการติดตั้งผลงานศิลปะ ซึ่ง
                              ั
                           ั
                                      ี่
               เนื้อหาในบทนี้เริ่มจากพื้นทในงานศิลปะกับมุมมองทางสุนทรียศาสตรของโรซาลิน  เคราส  (Rosalind
               Krauss)  นักวิจารณชาวอเมริกันและแคลร  บิชอพ  (Claire Bishop)  ที่เปนทั้งนักวิจารณและนัก

               ประวัติศาสตรศิลปชาวอังกฤษ ซึ่งหากกลาวถึงเรื่องพื้นที่ในงานศิลปะ พื้นทในงานแลนดอารต (Land
                                                                             ี่
               art) หรือเอิรธอารต (Earth art) นาจะเปนสิ่งที่เราตองทำความเขาใจถึงแนวคิดในการสรางสรรค ท ี่

               สงผลตอเรื่องพื้นทกับการติดตั้งผลงาน รวมถึงงานประเภทศิลปะการจัดวาง (Installation art) และ
                              ี่
               ตอมาไดพัฒนาการแสดงออกในรูปแบบผลงาน  Immersive installation art  ที่มีการขยายการให
               ความหมายเรื่องพื้นที่ออกไปจากเดิม




               พื้นที่ในงานศิลปะกับมุมมองทางสุนทรียศาสตร    

                                      
                       ภาพผนังถ้ำในยุคกอนประวัติศาสตร (Pre-history) ถือเปนพื้นที่การแสดงออกอยางหนึ่งของ
                                                  ึ
               มนุษยถ้ำ เพอใชสำหรับพิธีกรรมหรือบันทกเหตุการณสำคัญที่เกิดขึ้นในชวงเวลานั้น แตเนื่องจากพื้นท ี่
                          ื่
               ใชสอยและสิ่งของตางๆ  รอบตัวของมนุษยยังไมถกนิยามภาษา  การจำแนกหนาที่และชื่อเรียกของสิ่ง
                                                        ู
               ตางๆ  ก็ยังไมถกนิยามขึ้นมาเชนกัน    เมื่อมนุษยเริ่มมีภาษาใชในการสื่อสารและสามารถนิยามสิ่งของ
                            ู
                                                                                      ี่
               ตางๆ ใหผูคนในสังคมนั้นสามารถเขาใจตรงกันหรือหานิยามรวมกันได โดยเฉพาะพื้นทในเชิงพิธีกรรม
               ทางความเชื่อและศาสนา  ทีมการติดตั้งผลงานจิตรกรรมและประติมากรรมแบบแทนบูชาในศาสนพิธี
                                         ี
                                       ่
               มีการสื่อความหมายที่สะทอนกับความเชื่อที่มนุษยมีรวมกัน  พื้นที่การแสดงออกทางศิลปะเริ่มแยกตัว
                                     
               เองออกจากพื้นทการติดตั้งในเชิงพิธีกรรม  แตในแงความหมายของศิลปะยังเปนพื้นที่ทสำคัญในการ
                             ี่
                                                                                        ี่
               สื่อสารความเชื่อและศรัทธาทมนุษยมีความสัมพันธในทุกระดับ   เห็นไดจากศิลปะในยุคเรอเนซองส
                                        ี่
               (Renaissance)  ที่พื้นที่ในงานศิลปะยังเปนพื้นที่รวมกันของความเชื่อทางศาสนาและความเปนมนุษย

                                                              ี่
                                                         ึ่
               นิยมที่เนนอุดมคติของความเปนมนุษยมากขึ้น  ซงพื้นทในงานศิลปะทั้งเชิงกายภาพและทางความคิด
                           ่
                    ี
               ยอมมการเปลียนแปลงไปตามยุคสมัย
                           ี่
                       พื้นทในงานศิลปะยุคเรอเนซองสที่วางอยูบนระนาบของผืนผาใบ บนผนังโบสถ หรือแมแตบน
                            ี
                                                                                                ่
                                                  ุ
               เพดานโคงแตมการใชเสนนำสายตาแบบมมมองทัศนียภาพแบบเสน  (linear perspectives)  ทีให
               ความรูสึกถึงระยะและมิติของภาพที่ดูสมจริง   เปนการนำเสนอความจริงผานงานจิตรกรรมในยุค
               เรอเนซองซทมีการสรางภาพมีจุดรวมสายตาซึ่งสงผลตอการมอง   และกำหนดขอบเขตของการรับรู  
                          ี่
               รวมถึงความจริงในงานศิลปะ จากหนังสือ วาดวยงานจิตรกรรม (De Pictura) ซึ่งตีพิมพครั้งแรกเปน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77