Page 82 -
P. 82

์
                                            ิ
                                                              ิ
                                                   ิ
                                                                               ั
                                                                                       ุ
                                   ิ
                                ื
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
               56


               มากขึ้นในการจัดการกับการกระทำของเราในโลกและผูอื่น  การที่สิ่งนี้จะเกิดขึ้นไดผานการที่เราถูกทำ
               ใหจมลึกลงไปในพื้นที่เฉพาะซงเชื่อมโยงกับ “โลกแหงความจริง” นั้นไดกลายเปนทงยุทธวิธี หลักการ
                                                                                    ั้
                                        ึ่
               และความสำเร็จของศิลปะการจัดวาง (Bishop, 2005, p. 133)
                       พื้นที่การแสดงออกกับมมมองสุนทรียศาสตร  ทั้งมมมองของโรซาลิน  เคราส  (Rosalind
                                                                 ุ
                                          ุ
                          ่
               Krauss)  ทีอธิบายใหเห็นถึงการยืดขยายของขอบเขต  และความหมายที่ศิลปนไดสรางสรรคขึ้นมา
                                                                                                 ิ
                                                      ิ
               ตั้งแตยุค 60s – 70s โดยเฉพาะศิลปะในกลุมภูมศิลปหรือแลนดอารต (Land art) ลวนสงผลตอแนวคด
                                                                                           
                                                                                  ี่
               และวิธีการสรางสรรคผลงานศิลปะ  ซึ่งการนิยามงานประติมากรรมและผลงานทกินพื้นที่ในการติดตั้ง
               ไดขยายขอบเขตไปจากเดิม  ทั้งในแงของมุมมองการรับรูและการใหความหมาย  ทีถือเปนจุดเริ่มตน
                                              
                                                                                     ่
               ของการนิยามงานศิลปะรวมสมัยที่เรียกวา ศิลปะการจัดวาง (installation art) สวนมมมองเรืองการ
                                                                                       ุ
                                                                                             ่
                                                                                            
                                                                       ่
               รับรูของผูชมที่เปลี่ยนไปของแคลร  บิชอพ  (Claire Bishop)  ทีมองวาหนาทของศิลปะไดไปเชื่อม
                                                                                 ี่
               ความสัมพันธและการมีสวนรวมของสังคม  โดยเขาสูยุคที่ศิลปนและผูชมทมีสวนรวมในการรับรูและ
                                                                              ี่
               การแสดงออกในงานมากขึ้น  พื้นที่ในงานศิลปะ  ตำแหนงและมุมมองของผูชมก็เปลี่ยนแปลงไป  จาก
               ประสบการณในการรับชมศลปะในประเภทตางๆ  จากเรื่องพื้นที่ในการรับรูที่เคยเปนขอจำกัดในเรื่อง
                                      ิ
                                                    
                           
                                                                                       
                                                                                       ิ
               การมองดวยสายตา ระยะและการตีความที่เกิดจากการแสดงออกในรูปแบบตางๆ ของศลปน ซึ่งการม ี
                                                   
                                    
               สวนรวมในประสบการณทางสุนทรียะของผูชม          ไดมีสวนชวยใหสามารถเขาใกลงานไดมากขึ้น
               ทั้งทางกายภาพและทางความคิด

               พื้นที่กับงาน Land art

                                              ิ
                                                                       ี
                       การอธิบายเรื่องพื้นที่ในงานศลปะอาจเริ่มจากยุคทศวรรษท  1960s  ทีการแสดงออกทาง
                                                                                    ่
                                                                       ่
               ศิลปะที่เต็มไปดวยจินตนาการ  เสรีภาพ  และความอึดอัดที่อัดอั้นมาจากผลของสงครามโลกครั้งที่  2
               จนถึงยุคสงครามเย็น  เปนยุคสมัยแหงการปลดปลอยและมการเชื่อมตอกันของศิลปะกับเทคโนโลยีได
                                                                ี
               อยางนาตื่นเตน  รวมถึงการใหอิสระกับการแสดงออกและเผยแพรผลงานศิลปะของศิลปนในรูปแบบ

               ตางๆ  พื้นทการแสดงออกทางศิลปะที่ไดขยายขอบเขตออกจากพิพิธภัณฑ  หอศิลป  หรือในอาคาร
                          ี่
               สถาปตยกรรมตางๆ  เพื่อสื่อสารและใหผูชมเขาถึงผลงานไดอยางใกลชิด  โดยใชธรรมชาติเปนเหมือน

               ผืนผาใบสรางสรรคผลงานศิลปะที่เรียกวา เอิรธอารต (Earth art) หรือแลนดอารต (Land art)
                       แลนดอารตเปนที่รูจัก  และถูกเผยแพรสูสาธารณะใหผูชมไดรับรูอยางกวางขวางผานสื่อทาง

               โทรทศนในรูปแบบภาพยนตรสัน  ในชวงป  1969  โดยภาพยนตรดังกลาวไดแพรภาพเพียงครั้งเดียว
                    ั
                                         ้
               เมื่อวันที่ 15 เมษายน 1969 เวลา 22.40 น. ในโทรทัศนชอง 1 (ARD) ของประเทศเยอรมนี อยางไรก ็
               ตาม  ชื่อของภาพยนตรที่เรียกวา  แลนดอารต  กลายเปนเครื่องหมายซึ่งใชเรียกผลงานศิลปกรรมท ี่

                            ั
               เกิดขึ้นบนภูมิทศน คำดังกลาวยอมาจากคำวา “ภูมิทัศน ศลปะ” (แลนดสเคป อารต) (ไลลัค, 2009, p.
                                                               ิ
               7) ภาพยนตรนี้เกิดจากแนวคดของเจอรี่ ชุม (Gerry Schum) ชางภาพชาวเยอรมันที่ตองการนำผลงาน
                                       ิ
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87