Page 9 -
P. 9

ิ
                                                 ์
                                 ื
                                    ิ
                                                                                ั
                                                                                         ุ
                                                    ิ
                                                                ิ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                          6

               เมื่ออ้างอิงกับกระดูก femur  c) มุมการเอียงของกระดูก patella (patella tilt) เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง
               การเหยียดเข่าที่ 0 องศา และงอเข่าที่ 30 องศา
               ที่มา Zhang LK, Wang XM, Niu YZ, Liu HX, Wang F. Relationship between Patellar Tracking

               and the "Screw-home" Mechanism of Tibiofemoral Joint. Orthop Surg. 2016;8(4):490-495.

               doi:10.1111/os.12295


                       นอกจากนี้เมื่องอเข่าด้วยมุมที่มากกว่า  20  องศา  การหมุนเข้าใน-หมุนออกนอก  (internal-
               external rotation) ของกระดูก tibia ยังขึ้นอยู่กับการทำงานของกล้ามเนื้อ hamstring โดยกล้ามเนื้อ

               biceps  femoris  ที่อยู่ทางด้านนอกของ  hamstring  ทำให้กระดูก  tibia  มีการหมุนแบบ  external

               rotation ส่วนกล้ามเนื้อ semimembranosus ที่อยู่ทางด้านในของ hamstring ทำให้กระดูก tibia มีการ
                                                                                ี่
               หมุนแบบ internal rotation โดยระยะการหมุนจะมากขึ้น ตามมุมการงอเข่าทมากขึ้น (ภาพที่ 5)

                                                                      ภาพที่ 5 ในการทดลองให้แรงดึง 350

                                                                      นิวตัน ดึงกล้ามเนื้อ hamstring  ในขา

                                                                      ขวาของผู้ที่เสียชีวิต   ด้วยสัดส่วนที่
                                                                      แตกต่างกัน   ดังนี้   เมื่อให้แรงดึง

                                                                      กล้ามเนื้อ  biceps  femoris  ที่อยู่

                                                                      ทางด้านนอกของ hamstring มากกว่า
                                                                      กล้ามเนื้อ    semimembranosus

                                                                      (LAT1,  LAT2)  ทำให้กระดูก  tibia  มี
               การหมุนแบบ external rotation แต่เมื่อให้แรงดึงกล้ามเนื้อ semimembranosus ที่อยู่ด้านในมากกว่า

               กล้ามเนื้อ biceps femoris (MAD1, MAD2) ทำให้กระดูก tibia มีการหมุนแบบ internal rotation และ

               เมื่อให้แรงดึงเฉพาะกลุ่มกล้ามเนื้อ quadriceps (QO) tibia มีการหมุนแบบ internal rotation
               ที่มา Shalhoub S, Fitzwater FG, Cyr AJ, Maletsky LP. Variations in medial-lateral hamstring

               force and force ratio influence tibiofemoral kinematics. J Orthop Res. 2016;34(10):1707-
               1715. doi:10.1002/jor.23185



                       การเคลื่อนที่และการหมุนของ tibiofemoral joint ในขณะเดินและวิ่งเหยาะๆ
                       การเดินด้วยความเร็วที่มากขนไปจนถึงวิ่งเหยาะๆ จะทำให้มีการงอ tibiofemoral joint มากขึ้น
                                              ึ้
               ในช่วงที่เท้าสัมผัสพื้น แต่การเคลื่อนที่ไปทางด้านหน้าของกระดูก tibia ไม่เพมขึ้นอย่างชัดเจน (ภาพที่ 6)
                                                                               ิ่



                                                  Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14