Page 11 -
P. 11
ิ
์
ั
ิ
ุ
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
8
จุดสัมผัสระหว่างกระดูก ภายในข้อต่อ tibiofemoral ในขณะเดินและยืนนิ่ง
จากการถ่ายภาพ x-ray แบบ 2 ระนาบ โดยให้เครื่อง x-ray เคลื่อนที่ (MoBiX imaging system)
ตามกลุ่มตัวอย่าง ที่เดินด้วยความเร็ว 1.28 + 0.15 เมตรต่อวินาที ร่วมกับการวิเคราะห์การเดิน แบบ 3 มิติ
เพื่อมาคำนวณหาจุดสัมผัสระหว่างกระดูกบริเวณ femoral condyles และ tibia plateau ระยะการหมุน
(rotation) และการเคลื่อนที่ (translation) ของข้อต่อ tibiofemoral ในขณะเดิน ได้แสดงในภาพที่ 8 โดย
ั
พบว่า การเคลื่อนที่ไปทางด้านหลังของจุดสัมผัส (posterior translation) มีความสัมพนธ์กับมุมในการงอ
ี่
เข่า (ภาพท 9) โดยเมื่องอเข่ามากจะทำให้ femoral condyles กดไปทางด้านหลังของ tibia plateau
มากขึ้น
(B)
ภาพที่ 8 A) การหมุนและการเคลื่อนที่ของกระดูก tibia เมื่อเทียบกับแกนอ้างอิงบนกระดูก femur B)
ระยะการหมุน และระยะการเคลื่อนที่ (peak to peak displacement, PTPD) ใน 1 วงจรของการเดิน
เมื่อ HS = heel-strike, TO = toe-off, CTO = contralateral toe-off, CHS = contralateral heel-
strike, 6-DOF = 6 degrees of freedom, TFJ = tibiofemoral joint
ที่มา Gray HA, Guan S, Thomeer LT, Schache AG, de Steiger R, Pandy MG. Three-dimensional
motion of the knee-joint complex during normal walking revealed by mobile biplane x-
ray imaging. J Orthop Res. 2019;37(3):615-630. doi:10.1002/jor.24226
Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล