Page 15 -
P. 15
์
ิ
ิ
ื
ิ
ุ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ั
12
ภาพที่ 12 การโมเดลกระดูกและกล้ามเนื้อ เพอคำนวณหา
ื่
แรงกดบนกระดูก
ที่มา Sasimontonkul S, Bay BK, Pavol MJ. Bone
contact forces on the distal tibia during the stance
phase of running. J Biomech. 2007;40(15):3503-
3509. doi:10.1016/j.jbiomech.2007.05.024
การกระโดดแบบ hop โดยเท้าข้างที่ถนัด แล้วต่อ
ด้วยวิ่งเปลี่ยนทิศทาง (sidestep cutting) ที่มุม 45 องศา นั้น ทำให้เกิดแรงกดบนกระดูก femur และ
tibia ได้ถึง 9.1 BW โดยกล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดแรงกดทางด้านในของกระดูก ได้แก่ กล้ามเนื้อ vastus
lateralis และ medialis, gastrocnemius, gluteus medius, gluteus maximus ส่วนกล้ามเนื้อที่ทำให้
เกิดแรงกดทางด้านนอกของกระดูก (lateral tibiofemoral load) ได้แก่ กล้ามเนื้อ vastus lateralis และ
medialis, gastrocnemius lateralis และ medialis, กล้ามเนื้อ soleus (ภาพท 13)
ี่
ภาพที่ 13 แรงกดบน tibiofemoral compartment ที่ได้
จากการโมเดลกระดูกและกล้ามเนื้อ จากภาพเคลื่อนไหว 3
มิติและคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ ที่บันทึกในขณะวิ่งเปลี่ยน
ทิศทาง (sidestep cutting) โดยเส้นสีน้ำตาลเข้ม ม่วง
และเขียว แสดงถึงแรงกดที่เกิดจากการทำงานของกลุ่ม
กล้ามเนื้อ vastus, gastrocnemius medialis และ
lateralis ของขาข้างที่อยู่บนพื้น (stance) ตามลำดับ แถบ
สีเทาแสดงปริมาณแรงกดที่เกิดจากกล้ามเนื้อทั้งหมด
ที่มา Maniar N, Bryant AL, Sritharan P, Schache AG,
Opar DA. Muscle contributions to medial and
lateral tibiofemoral compressive loads during sidestep cutting. J Biomech.
2020;101:109641. doi:10.1016/j.jbiomech.2020.109641
Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล