Page 19 -
P. 19

ิ
                                                    ิ
                                                                                         ุ
                                                                                ั
                                    ิ
                                              ิ
                                                 ์
                                 ื
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                         16

               A)                     B)
                                                ภาพที่  17  ในการกระโดดลงสู่พื้นด้วยเท้าข้างเดียว  A)  ในภาวะ
                                                ปกติ  เวคเตอร์ของแรงปฏิกิริยาจากพื้น  จะอยู่ทางด้านในของข้อ

                                                เข่า  ทำให้เกิดโมเมนต์ในการหุบเข่า (knee varus moment) B)

                                                ผู้ที่กล้ามเนื้อในการกางสะโพก  (hip  abductor)  อ่อนแรง  จะ
                                                พยายามรักษาระดับของสะโพก  โดยการเอียงตัว  ทำให้ตำแหน่ง

                                                ของจุดศูนย์กลางมวลเปลี่ยนไป  และเวคเตอร์ของแรงปฏิกิริยา
                                                จากพื้นเลื่อนไปอยู่ทางด้านนอกของข้อเข่า   ทำให้เกิดโมเมนต์ใน

               การกางเข่า (knee valgus moment)

               ที่มา    Powers  CM.  The  influence  of  abnormal  hip  mechanics  on  knee  injury:  a
               biomechanical  perspective. J  Orthop  Sports  Phys  Ther.  2010;40(2):42-51.

               doi:10.2519/jospt.2010.3337


                       สรุป จะเห็นได้ว่า การวางตัวของกระดูก (bone alignment) การหมุนและการเคลื่อนที่ระหว่าง

               กระดูก  tibia  กับกระดูก  femur  รวมทั้งการทำงานของกล้ามเนื้อ  ในขณะทำกิจกรรมต่างๆ  ส่งผลให้
               ปริมาณแรงกดที่เกิดขึ้นบนผิวกระดูกทางด้านในและด้านนอกของ  tibiofemoral  joint  เปลี่ยนแปลงไป

               และยังส่งผลต่อแรงดึงของเอนไขว้หน้า  ที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บของอวัยวะในข้อเข่า  ดังที่จะได้กล่าวโดย
                                       ็
               ละเอียดในบทต่อไป


               บรรณานุกรม


                       Affatato,  S.  Biomechanics  of  the  knee.  In  Surgical  Techniques  in  Total  Knee

               Arthroplasty (TKA) and Alternative Procedures. Elsevier, 2015
                       Claes S, Vereecke E, Maes M, Victor J, Verdonk P, Bellemans J. Anatomy of the

               anterolateral ligament of the knee. J Anat. 2013;223(4):321-328. doi:10.1111/joa.12087
                       Gray  HA,  Guan  S,  Thomeer  LT,  Schache  AG,  de  Steiger  R,  Pandy  MG.  Three-

               dimensional motion of the knee-joint complex during normal walking revealed by mobile

               biplane x-ray imaging. J Orthop Res. 2019;37(3):615-630. doi:10.1002/jor.24226
                       Hirschmann  MT,  Müller  W.  Complex  function  of  the  knee  joint:  the  current

               understanding of the knee. Knee Surg Sports Traumatol Arthrosc. 2015;23(10):2780-2788.
               doi:10.1007/s00167-015-3619-3


                                                  Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24