Page 17 -
P. 17

ิ
                                                    ิ
                                                                                         ุ
                                                                                ั
                                    ิ
                                 ื
                                                 ์
                                              ิ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                         14































               ภาพที่ 15 การวิเคราะห์ผลงานวิจัย พบว่า เด็กและผู้ที่อยู่ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ที่มีน้ำหนักเกิน หรืออยู่ใน

               ภาวะอ้วน จะมีข้อเข่าหุบเข้าใน (knee valgus) และองเท้าแบน (flatfoot) มากกว่าผู้ที่มีน้ำหนักปกติ
                                                            ุ้
               ที่มา  Molina-Garcia  P,  Miranda-Aparicio  D,  Ubago-Guisado  E,  Alvarez-Bueno  C,

               Vanrenterghem J, Ortega FB. The Impact of Childhood Obesity on Joint Alignment: A

               Systematic     Review     and     Meta-Analysis. Phys    Ther.     2021;101(7):pzab066.
               doi:10.1093/ptj/pzab066


                       แรงกดที่เกิดขึ้นระหว่างกระดูก  tibiofemoral  joint  ยังส่งผลต่อปริมาณแรงดึงใน  anterior

               cruciate  ligament,  ACL   โดยในการจำลองการเคลื่อนที่และการหมุนของเข่าในขณะวิ่งเปลี่ยนทิศทาง

               หรือกระโดดลงพื้น ด้วยการให้เครื่องมือกด tibiofemoral joint ของผู้ที่เสียชีวิต ด้วยปริมาณแรงกด ในแต่
               ละระดับร่วมกับผลักกระดูก  tibia ไปทางด้านหน้า (AF) หรือให้ internal tibial torque (IT)  หรือให้

               valgus moment (ภาพท 14) พบว่า เมื่อให้แรงกดที่มากขน จะทำให้กระดูก tibia เคลื่อนไปทางด้านหน้า
                                                               ึ้
                                     ี่
               มากและทำให้เกิดแรงดึงในเอนไขว้หน้า (anterior cruciate ligament, ACL) เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 16) โดยที่
                                        ็
               internal tibial torque (IT) หรือ valgus moment ไม่ได้ทำให้กระดูก tibia เคลื่อนไปทางด้านหน้ามาก

               ขึ้นหรือเพิ่มแรงดึงในเอ็นไขว้หน้า







                                                  Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22