Page 13 -
P. 13

ั
                                                    ิ
                                    ิ
                                              ิ
                                                 ์
                                 ื
                                                                ิ
                                                                                         ุ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                         10

                       แรงกดบนกระดูกภายในข้อต่อ tibiofemoral (Bone Compressive Force)
                       การกดของ femoral condyle ลงบน tibia plateau ทำให้เกิดแรงกดบนกระดูก ปริมาณแรงท  ี่
               กดระหว่างกระดูกและตำแหน่งของแรงที่กดบนกระดูกขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้

                       1.     การหมุนของกระดูก femur และกระดูก tibia จากการทดลองให้แรงบิดกระดูก femur

               และกระดูก tibia ร่วมกับให้แรงกด 350 นิวตันลงบนเท้า นั้น พบว่า แรงกดทางด้าน medial ของ tibial
               plateau  มากขึ้น  เมื่อมีการหมุนออกนอกของกระดูก  tibia  ที่มากขึ้น  หรือมีการบิดส่วนบนของกระดูก

                                                                                              ี่
               tibia ออกด้านนอก (external torsion) เมื่อเทียบกับแนว medial-lateral malleolus (ภาพท 10)


               A)                                             B)


















               ภาพที่ 10 ความดันที่กดทางด้าน medial ของ tibial plateau A) เมื่อ กระดูก tibia มีการหมุนแบบหมุน

               เข้าใน (internal rotation) และหมุนออกนอก (external rotation) B) มีการบิดของกระดูก tibia (tibial
               torsion) เมื่อ มุมมีค่าเป็นบวก หมายถึง หมุนออกนอก (external rotation) หรือ บิดออกนอก (external

               tibial torsion)
               ที่มา Kenawey M, Liodakis E, Krettek C, Ostermeier S, Horn T, Hankemeier S. Effect of the

               lower  limb  rotational  alignment  on  tibiofemoral  contact  pressure. Knee  Surg  Sports

               Traumatol Arthrosc. 2011;19(11):1851-1859. doi:10.1007/s00167-011-1482-4


                       2.     ความเร็วในการเคลื่อนที่ หรือ ความสูงของการกระโดด โดยแรงกดบนกระดูกภายในข้อ
               ต่อ tibiofemoral มีปริมาณมากขึ้น เมื่อร่างกายเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่มากขึ้น หรือมีการกระโดดที่สูงขึ้น

                                                                                ื่
               จากการบันทึกภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ ร่วมกับการโมเดลกล้ามเนื้อและกระดูกเพอใช้ในการประมาณค่าของ
               แรงกดที่เกิดขึ้นระหว่างกระดูก tibia และ femoral condyles นั้น พบว่าในขณะเดินด้วยความเร็ว 1.44
               เมตรต่อวินาที  ทำให้มีแรงกดที่  tibiofemoral  ประมาณ  2.83  +  0.64  เท่าของแรงที่เกิดจากน้ำหนัก

               ร่างกาย (BW) ในขณะวิ่งด้วยความเร็ว 4.38 เมตรต่อวินาที ทำให้มีแรงกดที่ tibiofemoral ประมาณ 7.83



                                                  Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18