Page 5 -
P. 5
ิ
ุ
์
ั
ิ
ิ
ิ
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
2
ร่วมกับหมุนเข่าเข้าใน (internal rotation) ALL จะตึงขึ้น ดังนั้น ALL จึงทำหน้าที่รั้งการหมุนเข่าเข้าใน
หรือทำให้ข้อเข่ามั่นคงในขณะหมุนเข่าเข้าใน
A) B)
ภาพที่ 1 A) Tibiofemoral joint ข้างซ้าย ประกอบไปด้วย condyles ของกระดูก femur ที่วางอยู่บน
tibial plateau เอ็นยึด femoral condyles กับด้านหน้าของกระดูก tibia (anterior cruciate ligament,
ACL) เอ็นยึด femoral condyles กับด้านหลังของกระดูก tibia (posterior cruciate ligament, PCL)
เอ็นยึดด้านนอกของข้อเข่า (lateral collateral ligament, LCL) เอ็นยึดด้านในของข้อเข่า (medial
collateral ligament, MCL) B) ภาพด้านข้างและภาพตัดขวางเหนือ meniscus ของข้อต่อ
tibiofemoral ข้างขวา แสดงให้เห็น meniscus ด้านใน (MM) และด้านนอก (LM) เอนยึดด้านนอกค่อน
็
ไปทางด้านหน้าของข้อเข่า (anterolateral ligament, ALL) เอ็น iliotibial band (ITB) และหลอดเลือด
(lateral inferior geniculate artery, LIGA)
ที่มา Rupp, Jonathan D. Knee, thigh, and hip injury biomechanics. In Yoganandan N et al.
(eds.) Accidental Injury: Biomechanics and Prevention. New York: Springer Science and
Bussiness Media, 2015.
Claes S, Vereecke E, Maes M, Victor J, Verdonk P, Bellemans J. Anatomy of the
anterolateral ligament of the knee. J Anat. 2013;223(4):321-328. doi:10.1111/joa.12087
Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล