Page 79 -
P. 79

ิ
                                              ิ
                                                                                ั
                                    ิ
                                                                                         ุ
                                 ื
                                                                ิ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                 ์
                                                         76

               ยาวออกเรื่อย นอกจากนี้ยังเห็นว่า เมื่อดึง ligament ให้ยืดยาวออกแล้วปล่อย ligament ไม่หดตัวกลับ
               ตามแบบเดิม (hysteresis)  เนื่องจากมีการเสียพลังงานยืดหยุ่นภายใน ligament ออกไป
               ที่มา Solomonow M. Ligaments: a source of musculoskeletal disorders. J Bodyw Mov Ther.

               2009;13(2):136-154. doi:10.1016/j.jbmt.2008.02.001


                                                                                   ภาพที่ 8 แสดงให้เห็น

                                                                                   ว่า A) การให้แรงดึง 10
                                                                                   นาที แล้วพก 10 นาที
                                                                                             ั
                                                                                   ซ้ำกันไปเรื่อยๆ   จน

                                                                                   ครบ  110  นาที  แล้ว
                                                                                   หยุดพัก       พบว่า

                  A                                B                               ligament  ยังมีความ
                                                                                   ยาวที่เพิ่มขึ้นคงค้างอยู่

               (creep) ไม่หดกลับไปทความยาวเดิม นานถึง 7 ชั่วโมง B) การดึง ligament ให้ยาวออกซ้ำๆกัน ด้วย
                                   ี่
               ความถี่ทมากกว่า (0.5 รอบต่อวินาที) ภายหลังเมื่อหยุดดึงแล้ว ligament มีความยาวคงค้างมากกว่า การ
                       ี่
               ดึง ligament ด้วยความถี่ที่น้อยกว่า (0.1 รอบต่อวินาที)

               ที่มา Solomonow M. Ligaments: a source of musculoskeletal disorders. J Bodyw Mov Ther.

               2009;13(2):136-154. doi:10.1016/j.jbmt.2008.02.001


                       คุณสมบัติ anisotropic ของ ligament
                       เนื่องจากการเรียงตัวของ collagen ขนานตามความยาวของ ligament จึงทำให้คุณสมบัติทาง

               กลของ collagen ในทิศตามขวางและทศตามยาวแตกต่างกัน (ภาพที่ 9) เรียกว่ามีคุณสมบัติ anisotropic
                                                ิ
                                      ็
               โดย  collagen  มีความแขงแรงตามยาวมากกว่าตามขวางภายใต้แรงดึง  ligament  จึงมีความทนทานต่อ
               แรงดึงตามยาวมากและทนทานต่อแรงดึงตามขวางน้อย


                                                ภาพที่ 9 คุณสมบัติทางกลของ MCL มนุษย์ ในทิศในทิศตามขวาง

                                                (Transverse)  และทิศตามยาว  (Longitudinal)  ภายใต้แรงดึง

                                                (tension)  ในภาพแสดงถึงปริมาณของความเค้นดึง  (tensile
                                                stress)  หรือแรงดึงต่อพื้นที่หน้าตัด  มีหน่วยเป็น  megapascal

                                                (MPa)  และแสดงถึงความยาวที่เปลี่ยนแปลงไปจากความยาวเดิม
                                                (tensile strain) มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) นอกจากนี้จะเห็นว่า


                                                  Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84