Page 75 -
P. 75
ิ
ื
ุ
ั
์
ิ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
72
ภาพที่ 1 ลูกศรแสดงถึง A) ใย elastin เรียงตัวขนานกับมัด collagen อยู่ที่ผิวด้านนอกของ ligament
มากกว่าด้านใน B) ใย elastin ยึดระหว่างมัด collagen C) ใย elastin ยึดพันระหว่างมัด collagen
bundle ตามขวาง D) ใย elastin ยึดพันระหว่างมัด collagen bundle แบบเฉียงๆ
ที่มา Smith KD, Vaughan-Thomas A, Spiller DG, Innes JF, Clegg PD, Comerford EJ. The
organisation of elastin and fibrillins 1 and 2 in the cruciate ligament complex. J Anat.
2011;218(6):600-607. doi:10.1111/j.1469-7580.2011.01374.x
ภาพที่ 2 เมื่อให้แรงดึงทางด้านข้างของ ligament
ตามทิศทางลูกศรสีขาว พบว่า ใย elastin ที่ยึด
ระหว่างมัด collagen มีการยืดยาวออก (ลูกศรสีดำ)
เมื่อหยุดให้แรงดึงใย elastin หดสั้นตามเดิม ทำให้มัด
collagen เรียงตัวขนานกันได้ตามเดิม
ที่มา Smith KD, Vaughan-Thomas A, Spiller DG,
Innes JF, Clegg PD, Comerford EJ. The
organisation of elastin and fibrillins 1 and 2 in
the cruciate ligament complex. J Anat. 2011;218(6):600-607. doi:10.1111/j.1469-
7580.2011.01374.x
จุดเกาะของ ligament
การเกาะของ ligament บนกระดูก มี 2 แบบ (ภาพที่ 3) คือ 1) เกาะกับกระดูกโดยตรง เช่น จุด
เกาะของ medial collateral ligament (MCL) กับกระดูก femur โดยสามารถแบ่งลักษณะของจุดเกาะ
ออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ligament, fibrocartilage, mineralized fibrocartilage, และกระดูก 2) ไม่ได้
เกาะกับกระดูกโดยตรง เช่น จุดเกาะของ medial collateral ligament (MCL) กับกระดูก tibia โดย
บริเวณชั้นผิวๆของ ligament จะเกาะกับเนื้อเยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) ส่วนที่อยู่ถัดไปจะเกาะทำมม
ุ
กับเนื้อกระดูก และเกาะข้าม epiphyseal plate ดังนั้น MCL จึงยาวขึ้น เมื่อกระดูกอยู่ในระยะเติบโต
Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล