Page 36 -
P. 36

ิ
                                                 ์
                                 ื
                                    ิ
                                                                                ั
                                                                                         ุ
                                                    ิ
                                                                ิ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                 33

                       กระทบพื้นในขณะวิ่ง  เดิน  หรือกระโดด  จะทำให้ส่วนปลายของกระดูก  femur  กด  ไถลและหมุนไปบน
                       tibia plateau ทุกครั้ง ได้มีรายงานว่า ถ้าให้แรงกดประมาณ 65 นิวตัน กดลงบนกระดูกออนผิวข้อของ
                                                                                                  ่
                       กระดูก  femur  ของวัว  ซ้ำๆกัน  97,200  ครั้ง  (ภาพที่  17B)  สามารถทำให้ความเค้นสูงสุด  (ultimate
                       tensile stress) ที่กระดูกอ่อนผิวข้อจะทนได้ลดลง (ตารางที่ 4)  จึงทำให้กระดูกอ่อนผิวข้อฉีกขาดได้ง่าย

                       ซึ่ง Bellucci และ Seedhom (2001) ก็รายงานว่าการเดินบนพื้นราบ จำนวน 100,000 ก้าว สามารถทำ
                       ให้ความแขงแรงของกระดูกออนผิวข้อลดลงและฉีกขาดได้ (ภาพที่ 9B)
                                ็
                                              ่
                       A)                                         B)
                                                                             ภาพที่ 17 A) ทดลองให้แรง 65 นิวตัน

                                                                             กดลงบนกระดูกออนผิวข้อของวัว  ด้วย
                                                                                           ่
                                                                             ความถี่  0.75  รอบต่อวินาที    พบว่า
                                                                             หลังจากให้แรงกดไปได้  2000  รอบ

                                                                                                        ่
                                                                             ความเค้น (Stress) ในชิ้นกระดูกออนผิว
                                                                             ข้อลดลงอย่างรวดเร็ว จากนั้นความเค้น

                                                                             จะลดลงอย่างช้าๆ B) เมื่อให้แรงกดครบ

                                                                             97200  รอบแล้ว  จึงนำชิ้นกระดูกอ่อน
                       ผิวข้อไปดึง พบว่า 3 ใน 4 ของชิ้นกระดูกอ่อนผิวข้อที่ได้รับแรงกด (เส้นประ) จะฉีกขาดภายใต้แรงดึงที่น้อย

                                    ่
                                              ่
                       กว่าชิ้นกระดูกออนผิวข้อที่ไมได้รับแรงกด (เส้นทึบ)
                       ที่มา McCormack T, Mansour JM. Reduction in tensile strength of cartilage precedes surface
                       damage  under  repeated  compressive  loading  in  vitro. J  Biomech.  1998;31(1):55-61.

                       doi:10.1016/s0021-9290(97)00103-6


                              ี่
                       ตารางท 4 แสดงความหนา (thickness) และความเค้นสูงสุดภายใต้แรงดึง (stress) ของชิ้นเนื้อเยื่อกระดูก
                                                                                                      ่
                       อ่อนผิวข้อ ภายหลังการให้แรงกด (I) จำนวน 97, 200 รอบ โดยเปรียบเทียบกับเนื้อเยื่อกระดูกออนผิวข้อ
                       ที่ไม่ได้รับแรงกด (U)




















                                                          Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41