Page 33 -
P. 33
ั
ิ
ิ
ุ
ิ
ื
ิ
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
30
่
ี่
ตารางท 3 แสดงความแข็งของ proteoglycan aggregate ในทิศทางขนานและตั้งฉากกับผิวกระดูกออน
ผิวข้อ Ha = aggregate modulus E = Young’s modulus
ที่มา Jurvelin JS, Buschmann MD, Hunziker EB. Mechanical anisotropy of the human knee
articular cartilage in compression. Proc Inst Mech Eng H. 2003;217(3):215-219.
doi:10.1243/095441103765212712
MOW และ Guo (2002) รายงานว่า ภายใต้แรงดึง (tensile load) กระดูกอ่อนผิวข้อชั้น
superficial tangential zone (STZ) ของ humeral head มีความแขงแรงในแนวขนานกับใย collagen
็
(modulus) ที่บริเวณ toe region ประมาณ 6.5 MPa โดยมีความแข็งแรงมากกว่าทิศทางตั้งฉากกับใย
collagen (4.5 MPa) และยังแข็งแรงมากกว่า ภายใต้แรงกด (0.5 MPa) มาก ถ้าดึงกระดูกอ่อนผิวข้อให้
ยาวขึ้น กระดูกออนผิวข้อก็ยิ่งแข็งแรงมากขึ้น โดย modulus จะมากถง 45 MPa และ 25 MPa ในทิศทาง
่
ึ
เดียวกับ collagen และทิศทางตั้งฉากกับ collagen ตามลำดับ
การบาดเจ็บของกระดูกออนผิวข้อ
่
การบาดเจ็บของกระดูกออนผิวข้อ สามารถแบ่งตาม international cartilage repair system
่
(ICRS) ออกได้เป็น 4 ระดับ
grade I เนื้อเยื่อของกระดูกออนผิวข้อไม่สม่ำเสมอ บวม เนื้อเยื่อของกระดูกอ่อนผิวข้อนิ่มลง
่
(ภาพที่ 13)
ระหว่าง grade I และ II ผิวของกระดูกออนผิวข้อไม่เรียบ เป็นขุยและมีรอยแตกหรือรอยแยก ลึก
่
ไม่เกิน 50 เปอร์เซ็นต์ของความหนา
grade III – IV ผิวของกระดูกอ่อนผิวข้อมีรอยแตกหรือรอยแยก ลึกเกิน 50 เปอร์เซ็นต์ของความ
หนา หรือลึกถึงชั้นกระดูก subchondral bone (ภาพที่ 14 - 15)
Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล