Page 30 -
P. 30
ั
ุ
์
ิ
ิ
ื
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ิ
27
superficial tangential zone และ deep zone จะมีความแขงแรงมากกว่าเนื้อเยื่อกระดูกออนผิวข้อใน
่
็
ชั้น middle zone (ภาพที่ 9C) ที่มีการเรียงตัวของคอลลาเจนกระจัดกระจาย
A) B) C)
ภาพที่ 9 A) คุณสมบัติทางกลของกระดูกอ่อนผิวข้อภายใต้แรงดึง (tensile test) B) เมื่อให้แรงดึงชิ้น
กระดูกออนผิวข้อที่ตัดมาจาก femoral condyle และ tibial plateau ของมนุษย์ ซ้ำๆ (tensile cyclic
่
loading) C) เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงความยาวภายใต้แรงดึง ในแต่ละชั้นตามความลึกของกระดูก
อ่อนผิวข้อ เมื่อ def = ความยาวที่เปลี่ยนไป
ที่มา Sophia Fox AJ, Bedi A, Rodeo SA. The basic science of articular cartilage: structure,
composition, and function. Sports Health. 2009;1(6):461-468.
doi:10.1177/1941738109350438
Bellucci G, Seedhom BB. Mechanical behaviour of articular cartilage under tensile
cyclic load. Rheumatology (Oxford). 2001;40(12):1337-1345.
doi:10.1093/rheumatology/40.12.1337
กระดูกออนผิวข้อจะมี Young's modulus ภายใต้แรงดึง (tension) มากกว่าภายใต้แรงกด
่
็
(compression) มาก ดังแสดงในตารางที่ 2 นอกจากนี้กระดูกอ่อนผิวข้อจะมีความแขง (stiffness)
่
มากที่สุด เมื่อมีแรงมาดึงกระดูกออนผิวข้อในทิศทางขนานกับผิว
ตารางท 2 แสดงคุณสมบัติทางกล (Mechanical Properties) ของเนื้อเยื่อกระดูกออนผิวข้อ
ี่
่
Confined compressive test Tensile
Indentation test
Mow and Guo Mansour test
PG aggregate modulus (MPa) 0.1 - 2.0 0.5 - 0.9 0.4 - 0.9
-16
-6
permeability (m^4/N.S) 1.2 - 6.2x10 4 - 10x10
Young's modulus (MPa) 0.41 - 0.85 0.45 - 0.8 - 5 - 25
Poisson's ratio 0.06 - 0.18 0.13 - 0.45
Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล