Page 32 -
P. 32

ิ
                                                    ิ
                                                                                ั
                                                                                         ุ
                                                 ์
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                 ื
                                              ิ
                                    ิ
                                                                 29

                                                ่
                            Anisotropic ของกระดูกออนผิวข้อ
                                                                                           ่
                              การเรียงตัวของ collagen และ proteoglycan ในแต่ละชั้นของกระดูกออนผิวข้อที่แตกต่างกัน
                       นั้น  ได้ส่งผลให้กระดูกออนผิวข้อมีคณสมบัติทางกล  (mechanical  property)  ในแต่ละทิศทางต่างกัน
                                           ่
                                                     ุ
                       เรียกว่ามีคุณสมบัติแบบ anisotropic ซึ่ง Jurvelin และคณะ (2003) ได้ทดสอบคุณสมบัติของกระดูกอ่อน
                                                                                                      ่
                                               ่
                       ผิวข้อ   โดยตัดชิ้นกระดูกออนผิวข้อตามแนวขนานกับผิวและตามทิศทางตั้งฉากกับผิวกระดูกออนผิวข้อ
                       จากนั้นจึงให้แรงกดลงบนชิ้นกระดูกออนผิวข้อสลับกับการคลาย (ภาพที่ 12) ซ้ำๆ โดยให้แรงกดในปริมาณ
                                                     ่
                       ที่เพิ่มขึ้นเป็นระดับขั้น ซึ่งผลการทดลองได้แสดงให้เห็นว่า กระดูกออนผิวข้อมีความแข็ง (modulus) ต่อ
                                                                              ่
                       แรงกดที่กระทำในทิศทางขนานกับผิวมากกว่าที่กระทำในทิศตั้งฉากกับผิวกระดูกอ่อนผิวข้อ (ภาพที่ 12 B)

                       ซึ่งสอดคล้องกับคุณสมบัติของ  proteoglycan  (ตารางที่  3)  นอกจากนี้กระดูกอ่อนผิวข้อยอมให้น้ำไหล

                       ผ่านเนื้อเยื่อในทิศทางขนานกับผิวน้อยกว่าในทิศทางตั้งฉากกับผิว แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างมากขึ้น
                              ่
                       กระดูกออนผิวข้อจะยอมให้น้ำไหลผ่านเนื้อเยื่อในทิศทางตั้งฉาก (normal) น้อยลงมากกว่า ทิศทางขนาน
                                   ่
                       กับผิวกระดูกออนผิวข้อ
                           A)

                                                                             ภาพที่  12 A) ชิ้นเนื้อเยื่อของกระดูก

                                                                             อ่อนผิวข้อบริเวณ patella femoral
                                                                             groove ถูกตัด ในทิศทางขนานกับผิว

                                                                             ของกระดูกอ่อนผิวข้อ และทิศทางตั้ง

                                                                             ฉากกับผิว แล้วให้แรงกดสลับกับคลาย
                                                                             ลงบนชิ้นกระดูกอ่อนผิวข้อ B) ความ

                                                                             เค้น (stress) ในเนื้อเยื่อกระดูกอ่อนผิว
                                                                             ข้อในทิศทางขนานกับผิวกระดูกอ่อน

                                                                             ผิวข้อ (tangential stress) มากกว่า

                                                                             ในทิศทางตั้งฉาก c) เนื้อเยื่อกระดูก
                                                                             อ่อนผิวข้อยอมให้น้ำไหลผ่านใน
                            B)                                               C)   ทิศทางตั้งฉากมากกว่าในทิศทางขนาน

                                                                             กับผิวกระดูกอ่อนผิวข้อ

                       ที่มา Jurvelin JS, Buschmann MD, Hunziker EB. Mechanical anisotropy of the human knee

                       articular  cartilage  in  compression. Proc  Inst  Mech  Eng  H.  2003;217(3):215-219.
                       doi:10.1243/095441103765212712






                                                          Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37