Page 35 -
P. 35
ิ
์
ั
ิ
ื
ิ
ิ
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
32
นักกีฬา hockey อาชีพ เนื้อเยื่อกระดูกอ่อนผิวข้อที่บริเวณ femoral condyles ฉีกขาดและหลุดออกจาก
ชั้น subchondral bone
ที่มา Farooq M, Dan-Lantsman C, Belair J. Cartilage injury patterns in the professional
athlete, Journal of Cartilage & Joint Preservation, 2023, 100148,
https://doi.org/10.1016/j.jcjp.2023.100148
กลไกการบาดเจ็บของกระดูกอ่อนผิวข้อ การฉีกขาดของกระดูกอ่อนผิวข้อมีสาเหตุมาจาก
หลายๆปัจจัย ดังนี้
1. มีแรงกระทำต่อกระดูกออนผิวข้อมาก เนื่องจากกระดูกอ่อนผิวข้อนั้นหุ้มอยู่ส่วนปลาย
่
ของกระดูก เมื่อมีแรงมากระทำให้กระดูก 2 ชิ้นมีการกดและไถล บนส่วนปลายของกระดูกทั้ง 2 ก็จะทำให้
่
เกิดแรงกด (compression) แรงดึง (tension) และแรงเฉือน (shear) บนกระดูกออนผิวข้อ ซึ่งส่วนใหญ่
แรงเฉือนจะเกิดขึ้นมากตรงบริเวณรอยต่อที่หน้าตัดของกระดูกอ่อนผิวข้อมีความเอียง จึงทำให้มีความเค้น
เฉือน (shear stress) เกิดขน ถ้าให้แรงกดในทิศตั้งฉากกับผิวกระดูกอ่อนผิวข้อ กระดูกออนผิวข้อจะมี
ึ้
่
สัดส่วนการเปลี่ยนรูปร่างในแนวขนานต่อทิศทางตั้งฉากกับผิว (possion’s ratio) สูงถึง 0.5 จึงทำให้
่
่
กระดูกออนผิวข้อยืดขยายออกทางด้านข้างเมื่อมีแรงมากดลงบนกระดูกออนผิวข้อ ในขณะที่
่
subchondral bone ที่อยู่ใต้กระดูกออนผิวข้อจะดึงรั้งไม่ให้กระดูกออนผิวข้อเคลื่อนที่ จึงทำให้มีความ
่
เค้นเฉือน (shear stress) มากที่บริเวณนี้ (ภาพที่ 16) จนเกิดการฉีกขาดของกระดูกออนผิวข้อ
่
ภาพที่ 16 เมื่อมีแรงกดบนกระดูกอ่อนผิวข้อ เนื้อเยื่อกระดูก
อ่อนผิวข้อ จะเคลื่อนตัวไปทางด้านข้างและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่
เชื่อมอยู่กับกระดูก จึงทำให้เกิดการฉีกขาดบริเวณนี้ได้ เมื่อมี
่
แรงกดบนกระดูกออนผิวข้อ
ที่มา Mansour JM. Biomechanics of cartilage. In
Engineering Biology, 2013
2. มีแรงมากระทำต่อกระดูกอ่อนผิวข้อซ้ำๆกัน โดยปกติแล้วแรงที่มากระทำต่อวัสดุจนทำ
ให้เกิดความเค้นที่มากกว่า yield stress จะทำให้โครงสร้างภายในของวัสดุเสียหายและวัสดุเปลี่ยนแปลง
รูปร่างแบบถาวร ถ้าแรงนั้นกระทำซ้ำๆกันหลายๆครั้ง วัสดุนั้นก็จะเสื่อมสภาพหรือแตกหักได้ กระดูกอ่อน
ผิวข้อก็เช่นกัน กระดูกอ่อนผิวข้อเป็นเนื้อเยื่อที่หุ้มอยู่ส่วนปลายของกระดูก ดังนั้นจึงมีแรงมากระทำต่อ
กระดูกออนผิวข้อทุกครั้งที่กระดูกชิ้นที่ 1 มีการกด ไถล หรือหมุนไปบนกระดูกชิ้นที่ 2 เช่น การที่เท้า
่
Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล