Page 41 -
P. 41

ิ
                                    ิ
                                              ิ
                                                 ์
                                                                ิ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                 ื
                                                                                ั
                                                                                         ุ
                                                         38








                   A                           B                            C


               ภาพที่ 23 การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของเข่าด้วย dynamic stereo x-ray (DSX) แสดง A) มุมการกาง-

               หุบ (abduction - adduction) ของข้อต่อ tibiofemoral B) การหมุนออกนอก-เข้าใน (external –
               internal rotation) ของข้อต่อ tibiofemoral C) การเอียงของ patella  เมื่อ lateral OA = ผู้ที่มีข้อเข่า

               เสื่อมทางด้านนอก, medial OA = ผู้ที่มีข้อเข่าเสื่อมทางด้านใน และ control = ผู้ที่มีข้อเข่าปกติ

               ที่มา Farrokhi S, Meholic B, Chuang WN, Gustafson JA, Fitzgerald GK, Tashman S. Altered
               frontal and transverse plane tibiofemoral kinematics and patellofemoral malalignments

               during  downhill  gait  in  patients  with  mixed  knee  osteoarthritis. J  Biomech.

               2015;48(10):1707-1712. doi:10.1016/j.jbiomech.2015.05.015


                       สรุป  จะเห็นได้ว่าถ้ามีแรงมากดกระดูกอ่อนผิวข้อซ้ำๆกันหลายๆครั้ง  โดยแรงนั้นไม่จำเป็นต้องม ี
               ปริมาณมาก  เช่น  เท้ากระทบพื้นในขณะที่วิ่งระยะไกลหรือมาราธอนนั้น  ทำให้มีแรงกดระหว่างกระดูกใน

                                                                                  ่
               ข้อต่อ  tibiofemoral  joint  ซ้ำๆกันหลายครั้ง  ทำให้ความแข็งแรงของกระดูกออนผิวข้อลดลง  จึงทำให้
                                                                     ี
               กระดูกออนผิวข้อฉีกขาดและเสื่อมได้    นอกจากนี้  กิจกรรมกฬาที่ทำให้กระดูกต้องรับแรงกระแทกใน
                       ่
               ปริมาณที่มาก เช่น  บาสเก็ตบอล สามารถทำให้กระดูกออนผิวข้อฉีกขาดภายใต้แรงกดที่มาก นอกจากนี้
                                                               ่
               เมื่ออายุมากขึ้นเนื้อเยื่อกระดูกออนผิวข้อเสื่อมสภาพ จึงทนต่อแรงดึงและแรงกดได้น้อยลง  ดังนั้น จึงควร
                                          ่
                                                                                                 ็
               ลดแรงกระแทก  เช่น  สวมรองเท้าที่ดูดซับแรงกระแทกขณะทำกิจกรรม  ทำกิจกรรมบนพื้นที่ไม่แขง  ลด
               น้ำหนักตัว และหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดแรงกระแทกระหว่างกระดูกสูง เป็นต้น


               บรรณานุกรม


                       Bae WC, Sah RL. Multi-scale Biomechanics of Articular Cartilage. In An Introductory

               Text        to       Bioengineering.       World        Scientific Publishing,    2008

               https://doi.org/10.1142/9789812770011_0015





                                                  Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46