Page 45 -
P. 45

์
                                                    ิ
                                                              ิ
                      ื
                         ิ
                                 ิ
         โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                          โซ่คุณค่า
                                                                          ของธุรกิจโรงสีข้าว
                                                          ื
                กระบวนการรับซ้อข้าวเปลือกของโรงสีข้าวจะเป็นการรับซ้อจากท้งเกษตรกรโดยตรงและผู้รวบรวม
                            ื
                                                               ั
                                        ื
           ั
          ท้งหน้าโรงสีข้าว หรือการต้งลานรับซ้อ ปริมาณการรับซ้อข้าวเปลือกของโรงสีข้าวจะแตกต่างกัน
                                ั
                                                       ื
          ตามขนาดของโรงสีข้าว โดยปัจจัยภายนอกท่มากระทบต่อกิจกรรมการรับซ้อข้าวเปลือกคือ พฤติกรรม
                                                                   ื
                                            ี
                                        �
                           �
          ของเกษตรกรในการนาข้าวเปลือกมาจาหน่าย ในอดีตเกษตรกรจะทยอยน�าข้าวเปลือกมาจ�าหน่าย
                                                                          �
                                                                        ี
                                                        ี
                                  �
                                       �
                                ึ
                                                                                  ี
          เป็นระยะ โดยมักจะมีส่วนหน่งนามาจาหน่ายทันทีหลังเก็บเก่ยวและจะมีบางส่วนท่นาไปเก็บไว้ท่ยุ้งฉาง
                                                                    ี
                                             ั
                                                ื
                        �
                                                                                     ี
          แล้วจึงทยอยมาจาหน่ายในภายหลัง อีกท้งเน่องจากรูปแบบการเก็บเก่ยวในอดีตเป็นการเก่ยว
                                       �
          ด้วยแรงงานทาให้ระยะเวลาของการนาข้าวเปลือกมาจาหน่ายจะมีระยะเวลานานกว่าในปัจจุบัน โดย
                                                    �
                     �
                                                                                      ั
                                                 �
                                    �
                           ี
          ในปัจจุบันระยะเวลาท่เกษตรกรนาข้าวเปลือกมาจาหน่ายพบว่ามีระยะเวลาประมาณ 20 วันเท่าน้น
                                        ี
                                                    ี
                  ึ
          ซ่งส่วนหน่งมาจากการปรับเปล่ยนวิธีเก่ยวข้าวเป็นรถเก่ยว ดังนั้นโรงสีข้าวจึงต้องมีการแข่งขันกันรับซ้อ
                                                                                      ื
                                  ี
           ึ
          ข้าวเปลือกให้ได้มากที่สุดเพื่อให้เพียงพอต่อปริมาณข้าวเปลือกที่ต้องการใช้ตลอดทั้งปี
                ปริมาณความต้องการข้าวเปลือกของโรงสีข้าวข้นอยู่กับขนาดเคร่องจักรและรูปแบบของ
                                                                     ื
                                                      ึ
          โรงสีข้าวเป็นหลัก โดยในปี 2564 โรงสีข้าวขนาดใหญ่มีการรับซ้อข้าวเปลือกโดยรวมเฉล่ย
                                                                                      ี
                                                                 ื
          56,000 - 58,875 ตันต่อปีต่อโรงสีข้าว ในขณะท่โรงสีข้าวขนาดกลางเน้นการสีข้าวเพ่อการส่งออก
                                                                              ื
                                                 ี
          มีการรับซ้อข้าวเปลือกโดยรวมเฉล่ย 8,500 ตันต่อปีต่อโรงสีข้าว ส่วนโรงสีข้าวท่เน้นการจาหน่าย
                                     ี
                                                                                  �
                  ื
                                                                          ี
                        ี
                                                                            ่
                                                                            ี
                                                                ื
                                                 ี
                                                      ั
                            ิ
                                        ี
                                            ิ
          ในประเทศแบบมตราสนค้า และไม่มตราสนค้ามการรบซอข้าวเปลอกโดยรวมเฉลย 14,189.43
                                                        ื
                                                        ้
                                                                                    ี
                                          ึ
          และ 14,690.91 ตันต่อปีต่อโรงสีข้าว ซ่งไม่มีความแตกต่างกันมาก ขณะท่โรงสีข้าวขนาดเล็กท่เน้น
                                                                     ี
                                                                   ื
          การจาหน่ายในประเทศแบบมีตราสินค้า และไม่มีตราสินค้า มีการรับซ้อข้าวเปลือกโดยรวมเฉลี่ย
              �
          2,064.57 และ 3,052.22 ตันต่อปีต่อโรงสีข้าว (ตารางที่ 2.2)
          ตารางที่ 2.2  ปริมาณการรับซื้อข้าวเปลือกในปี 2564
                                                                        (ตันต่อปีต่อโรงสีข้าว)
                                  โรงสีข้าว        โรงสีข้าวเน้นขาย    โรงสีข้าวเน้นขาย
             ขนาดโรงสีข้าว
                               ที่เน้นการส่งออก  ในประเทศมีตราสินค้า  ในประเทศไม่มีตราสินค้า
                 ใหญ่            58,419.07           56,000.00           58,875.00
                 กลาง             8,500.00           14,189.43           14,690.91
                 เล็ก                -                2,064.57            3,052.22
          ที่มา: จากการสัมภาษณ์และวิเคราะห์ข้อมูล
                                                                อัจฉรา ปทุมนากุล และคณะ  43
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50