Page 43 -
P. 43
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
์
โซ่คุณค่า
ของธุรกิจโรงสีข้าว
ตลาดข้าวขาว: ซ่งเป็นข้าวราคาถูกและเป็นตลาดข้าวท่มีปริมาณการค้าสูงสุด ในตลาดโลก
ี
ึ
มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 55 - 60 ของปริมาณการส่งออกข้าวของโลก (ธนาคารกรุงศรี, 2565)
ในตลาดน้มีภาวะการแข่งขันค่อนข้างรุนแรงเป็นตลาดแข่งขันกันท่ราคามากกว่าคุณภาพข้าวทาให้
ี
ี
�
การทดแทนกันระหว่างข้าวไทย ข้าวเวียดนามและอินเดียสามารถทดแทนกันได้ค่อนข้างมาก ความจงรัก
่
ั
�
ั
ิ
ี
ื
ี
�
ู
้
ภกดของผู้บรโภคข้นสุดท้ายในตลาดตา นอกจากนการซ้อข้าวของผ้นาเข้าในแต่ละประเทศจะเป็น
การสั่งซื้อในปริมาณมาก ท�าให้อ�านาจการต่อรองของผู้ซื้อในตลาดนี้มีสูง
ตลาดข้าวหอมมะลิ: เป็นข้าวเกรดพรีเม่ยมราคาสูงแต่มีสัดส่วนปริมาณการค้าข้าวหอมมะล ิ
ี
ในตลาดโลกเพียงร้อยละ 12 - 14 ของปริมาณส่งออกข้าวท่วโลก (ธนาคารกรุงศรี, 2565) แม้ว่าในอดีต
ั
ิ
ั
ี
ี
่
ู
่
ั
ิ
ข้าวหอมมะลจะเป็นสินค้าทมีลกษณะเฉพาะทปลกได้เฉพาะในไทย การทดแทนกนของสนค้ามีน้อย
ี
ี
ึ
สินค้าท่สามารถแข่งขันกับข้าวหอมมะลิไทยตลาดข้าวพรีเม่ยมโลกคือ ข้าวบาสมาติ ซ่งยังมีคุณลักษณะ
ี
ท่แตกต่างจากข้าวหอมมะลิของไทยพอควร ผู้บริโภคข้นปลายจึงยังมีความจงรักภักดีในตราสินค้า
ั
ข้าวหอมมะลิไทย แต่ปัจจุบันพบว่าท่มีการพัฒนาพันธุ์ข้าวคุณภาพใกล้เคียงกับไทย อาทิ ข้าวกล่นหอม
ี
ิ
ของสหรัฐฯ หรือ American Jasmine ข้าวผกาล�าดวนของกัมพูชา ข้าวหอม KDM (Khao Dok Mali)
และข้าวหอมพันธุ์ ST21 ของเวียดนาม เป็นต้น (ธนาคารกรุงศรี, 2565) ท�าให้ระดับการทดแทนของ
สินค้ามีมากขึ้นแม้จะไม่สามารถทดแทนได้ทั้งหมด นอกจากนี้การซื้อข้าวของผู้น�าเข้าในแต่ละประเทศ
จะเป็นการสั่งซื้อในปริมาณมาก ท�าให้อ�านาจการต่อรองของผู้ซื้อในตลาดนี้มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
2.1.5 อ�านาจการต่อรองของผู้จ�าหน่ายวัตถุดิบ
วัตถุดิบหลักของอุตสาหกรรมโรงสีข้าว คือ ข้าวเปลือก ในการผลิตข้าวเปลือกของประเทศไทย
พบว่ามีเกษตรกรผู้ปลูกข้าวรายย่อยจ�านวนมากเกษตรกรแต่ละรายมีพื้นที่ปลูกข้าวไม่มากจึงมีปริมาณ
ี
ผลผลิตไม่มาก นอกจากน้เกษตรกรมักจะจาหน่ายข้าวเปลือกท่เก็บเก่ยวสู่ตลาดทันที เน่องจาก
ี
ื
ี
�
�
ข้าวเปลือกท่เก็บเก่ยวได้มีความช้นสูงทาให้ไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน อีกท้งเกษตรกรส่วนใหญ่
ี
ี
ื
ั
�
่
�
ไม่มียุ้งฉางในการเก็บรักษาข้าว มีความสามารถในการหาช่องทางการจัดจาหน่ายตา โดยส่วนมาก
์
จะจ�าหน่ายให้ผู้รวบรวมในพื้นที่ โรงสีข้าว สหกรณการเกษตร จึงท�าให้อ�านาจการต่อรองของเกษตรกร
ผู้ปลูกข้าวมีน้อย
ี
ในส่วนของผู้รวบรวมท่เป็นผู้รวบรวมข้าวเปลือกจากเกษตรกรจะมีปริมาณในการจาหน่าย
�
ี
�
ั
ท่มากกว่าเกษตรกร อีกท้งมีกระบวนการในการลดความช้นข้าวและมีโกดังในการเก็บรักษาจึงทาให้
ื
สามารถเก็บรักษาข้าวได้นานกว่าเกษตรกร มีความสามารถในการหาช่องทางการจัดจาหน่าย
�
�
สูงกว่าเกษตรกรจึงทาให้มีอานาจการต่อรองสูงกว่าเกษตรกร อย่างไรก็ตามการรวบรวมข้าวเปลือก
�
ในปริมาณมากจาเป็นต้องมีเงินลงทุนสูงซ่งเป็นข้อจากัดของผู้รวบรวมบางรายทาให้จาเป็นต้องพ่งพา
ึ
�
�
ึ
�
�
เงินทุนจากโรงสีข้าว ส่งผลให้อ�านาจต่อรองของผู้รวบรวมประเภทนี้ลดลง
อัจฉรา ปทุมนากุล และคณะ 41