Page 41 -
P. 41
ิ
ื
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
โซ่คุณค่า
ของธุรกิจโรงสีข้าว
ในการแข่งขันให้แก่อินเดียและเวียดนามท่เร่มมีปริมาณส่งออกสูงกว่าไทย โดยอินเดียส่งออกข้าว
ี
ิ
ถึง 10.38 ล้านตัน ไทย 6.98 และเวียดนาม 7.72 ล้านตัน จะเห็นได้ว่าในช่วงปี 2560 - 2564 การ
ี
ี
ส่งออกข้าวไทยลดลงเฉล่ยร้อยละ 12 และในปี 2563 - 2564 การส่งออกข้าวไทยลดลงเฉล่ย
�
ร้อยละ 9 (ภาพท 2.2) ทาให้อตราการเติบโตของอตสาหกรรมข้าวลดลงส่งผลให้อัตราผลตอบแทน
ี
่
ุ
ั
ต่อการลงทุนของอุตสาหกรรมโรงสีข้าวต�่าจึงไม่ดึงดูดผู้เล่นรายใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรมมากนัก
ลานตัน
20
15
10
5
0 ป
2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564
อินเดีย ปากีสถาน ไทย สหรัฐอเมร�กา เว�ยดนาม
่
ี
่
่
ภาพที่ 2.2 แสดงปริมาณการสงออกขาวรายปของประเทศตาง ๆ ตั้งแตป 2534 - 2564
้
ี
ที่มา: Foreign Agricultural Service USDA (2022)
ี
อุตสาหกรรมโรงสีข้าวเป็นอุตสาหกรรมท่มีการกีดกันการเข้าสู่อุตสาหกรรมจากการท่เป็นธุรกิจ
ี
ท่มการลงทุนสูง รวมไปถงเป็นอุตสาหกรรมท่ต้องใช้เงินทุนหมุนเวยนสูง โดยเฉพาะในช่วงหน้าข้าว
ี
ี
ี
ี
ึ
ี
้
ั
ี
�
ี
ิ
โรงสข้าวต้องมเงนสดสาหรบซือข้าวเปลอกจานวนมาก นอกจากนีทักษะของเจ้าของโรงสข้าวยงเป็น
�
ื
ั
้
ี
ปัจจัยท่กีดกันการเข้าสู่อุตสาหกรรมของโรงสีข้าวรายใหม่ อย่างไรก็ตามทักษะบางอย่างอาทิ การด ู
คุณภาพของข้าวเปลือก สามารถถูกทดแทนได้โดยเทคโนโลยีท�าให้ข้อจ�ากัดด้านนี้ลดลง
ื
ี
ในขณะท่การกีดกันการเข้าสู่อุตสาหกรรมจากเทคโนโลยีในปัจจุบันมีไม่มากนัก เน่องจาก
การเลียนแบบเทคโนโลยีการผลิตสามารถท�าได้ง่ายข้นกว่าในอดีต ความแตกต่างของสินค้ามีไม่มาก
ึ
ี
การเข้าสู่ช่องทางจัดจ�าหน่ายท�าได้ง่าย และผู้ท่อยู่ในอุตสาหกรรมไม่สามารถตอบโต้ผู้เล่นรายใหม่
ื
ึ
ิ
เพ่อกีดการเข้าสู่อุตสาหกรรมได้ สะท้อนให้เห็นจากการท่จ�านวนโรงสีข้าวจึงมีแนวโน้มเพ่มมากข้น
ี
อย่างมากในช่วง ปี 2543 - 2556
อัจฉรำ ปทุมนำกุล และคณะ 39