Page 42 -
P. 42

์
                      ื
         โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                              ิ
                                 ิ
                         ิ
                                                    ิ
                                    ี
              อย่างไรก็ตามปัจจัยสาคัญท่ส่งผลต่อการลดการกีดกันของการเข้าสู่อุตสาหกรรมโรงสีข้าว
                               �
                                         �
                                       �
        มาจากนโยบายของรัฐคือ โครงการรับจานาข้าวทุกเมล็ด ในปี 2555 - 2557 ท่ทาให้ผลตอบแทน
                                                                         �
                                                                       ี
                                                                                   �
                            ี
        จากการลงทุนสูงจากการท่รัฐบาลให้ผลตอบแทนจากการเช่าโกดัง และการรับจ้างสีข้าวให้รัฐบาล ทาให้
              ี
                                                                     ี
            ั
                                                    ั
        ปัจจยทเคยเป็นอปสรรคในการเข้าส่อตสาหกรรมอย่างทกษะของเจ้าของโรงสข้าวลดลง นอกจากน  ้ ี
              ่
                                      ุ
                      ุ
                                    ู
                                                             ื
                                       ี
                                                               �
        ปัจจัยด้านเงินลงทุนยังลดลงจากการท่สถาบันการเงินต่างให้สินเช่อสาหรับอุตสาหกรรมโรงสีข้าว
        เพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ท�าให้โรงสีข้าวรายใหม่เข้าสู่อุตสาหกรรมโรงสีข้าวอย่างมาก
              2.1.3  การทดแทนกันของสินค้า
              การบริโภคข้าวของผู้บริโภคเป็นอาหารหลักในการบริโภคเพ่อต้องการคาร์โบไฮเดรต ดังน้น
                                                                                    ั
                                                             ื
                                                                             ื
                      ี
        ถึงแม้จะมีสินค้าท่สามารถทดแทนข้าว เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ขนมปัง วุ้นเส้น แต่เม่อพิจารณา
                                            ี
                                                                        ึ
            ื
        ในเร่องการทดแทนกันได้พบว่า สินค้าเหล่าน้สามารถทดแทนข้าวได้ในระดับหน่ง แต่ไม่สามารถ
        สร้างความพึงพอใจทดแทนการบริโภคข้าวได้อย่างสมบูรณ์ จึงเห็นได้ว่าการทดแทนของสินค้าทดแทน
        ของสินค้าทดแทนในตลาดมีความสามารถในการทดแทนตา อย่างไรก็ตามการสร้างความพึงพอใจ
                                                      �
                                                      ่
        ของสินค้าคาร์โบไฮเดรตอ่นแทนข้าวต่อผู้บริโภคมีแนวโน้มเพ่มสูงข้นเน่องจากพฤติกรรมการบริโภค
                                                            ึ
                            ื
                                                               ื
                                                        ิ
        ที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะผู้บริโภครุ่นใหม่
              2.1.4  อ�านาจการต่อรองของผู้ซื้อ
              ในอุตสาหกรรมโรงสีข้าวสามารถแบ่งผู้ซื้อได้ตามลักษณะของโรงสีข้าวในประเทศไทย แบ่งเป็น
                                         ี
                                                 �
                                                                    ั
                ี
        โรงสีข้าวท่เน้นการส่งออก และโรงสีข้าวท่เน้นการจาหน่ายในประเทศ ดังน้น จึงแบ่งเป็นผู้บริโภค
        ภายในประเทศ (ร้อยละ 53) ผู้ส่งออกหรือผู้นาเข้าตลาดต่างประเทศ (ร้อยละ 47) ดังน้นในการพิจารณา
                                                                        ั
                                          �
        อ�านาจต่อรองของผู้ซื้อจึงแยกออกเป็น 2 ตลาด ดังนี้
              ตลาดในประเทศ: การบริโภคข้าวสารของผู้บริโภคในประเทศจะเป็นการบริโภคข้าวสาร
                                                                                    ั
                                                            ึ
        ในรูปของข้าวบรรจุถุง และข้าวตักในร้านค้าข้าวแบบด้งเดิม ซ่งในตลาดข้าวสารในประเทศน้น
                                                     ั
                            ี
                                                                  ี
                                                    ั
                                                                                   ี
        สินค้าข้าวสารเป็นสินค้าท่ไม่มีความแตกต่างกันมาก อีกท้งมีความภักดีต่อย่ห้อและต้นทุนการเปล่ยน
                                                                        ื
              ่
                               ี
        สินค้าตาผู้บริโภคสามารถเปล่ยนไปบริโภคข้าวสารในย่ห้ออ่นได้ง่าย แม้ว่าลูกค้าจะซ้อสินค้าในปริมาณ
              �
                                                  ี
                                                     ื
                                                                                    ึ
        ไม่มากแต่การท่ลูกค้ามีข้อมูลของผลิตภัณฑ์ และราคาจึงทาให้อานาจการต่อรองของลูกค้าเพ่มข้น
                                                                                  ิ
                                                       �
                     ี
                                                           �
        ดังนั้นลูกค้าตลาดในประเทศจึงมีอ�านาจการต่อรองสูง
              ตลาดต่างประเทศ: ลูกค้าของโรงสีข้าวที่เน้นการส่งออกคือ ผู้ส่งออก หยง และผู้น�าเข้า ไม่ใช่
        ผ้บริโภคโดยตรง แต่การแข่งขนในตลาดส่งออกย่อมส่งผลต่อผ้ส่งออกและหยงในประเทศ อานาจ
                                                          ู
                                ั
         ู
                                                                                 �
        การต่อรองของลูกค้าในตลาดต่างประเทศสามารแบ่งตามชนิดข้าวดังนี้
          40 สถาบันคลังสมองของชาติ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47