Page 14 -
P. 14
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ื
ิ
ิ
2.1.2 กระบือพันธุ์นิลี - ราวี (Nili - Ravi )
ลักษณะทั่วไป กระบือพันธุ์นิลี-ราวี มีสีด าทั้งขนและหนัง แต่ก็ยังมตัวที่มีขนและหนัง
ี
สีน้ าตาลมีจ านวนถึง 15 เปอรเซ็นต มีด่างขาวที่หน้าผาก ใบหนา จมูก ขาและพหางขาวเป็นลักษณะ
ู่
ู
ประจ าพนธุ์และเป็นลักษณะที่พงประสงค์ จุดสีชมพที่เต้านม พบมากในพนธุ์ราวี มีเขาสั้น กว้างช่วงโคน
ึ
ั
ั
และขดเป็นวงแคบมาก เพศผู้มีน้ าหนักประมาณ 600 กิโลกรัม เพศเมียหนัก 450 กิโลกรัม ใหนมเฉลี่ย
2,000 กิโลกรัม ต่อระยะการให้น้ านม ลักษณะเด่น มีเต้านมเจริญดีมาก ล้ าไปข้างหน้าและข้างหลัง
หัวนมยาว และอยู่ในต าแหน่งที่ดี
2.1.3 กระบือพันธุ์กุนดิ (Kundi)
ิ
ลักษณะทั่วไป กระบือพนธุ์กุนดิ กระจายอยู่ตามเขตปลูกข้าวแถบลุ่มน้ าอนดัส
ั
(Indus) ในตอนเหนือของจังหวัด Sind ลักษณะของเขาหนา ส่วนฐานลู่ไปข้างหลังแลวโค้งขึ้น และตอนปลาย
ขดเป็นวงแคบปานกลาง สีประจ าพันธุ์คือสีด าสนิท ในบางแหงอาจมีกระบือสีน้ าตาลอ่อนถึง 15 เปอร์เซ็นต จุด
ั
่
ู่
ื่
ึ
ั
ขาที่พงประสงคคือที่หนาผาก พหางขาว กีบ กระบือพนธุ์กุนดิตัวเล็กกวาพนธุ์อน ๆ ในกลุมนี้ น้ าหนักตัว
ประมาณ 320 – 450 กิโลกรัม ใหนมเฉลี่ยประมาณ 11 กิโลกรัมต่อวัน หรือ 2,000 - 2,200 กิโลกรัมต่อระยะ
การให้นมที่ 300 วัน
2.2 สายพันธุ์กูจาราช (The Gujarat Breed) อยูทางตอนเหนือของรัฐกูจาราช ประกอบด้วย
พันธุ์เซอร์ติ (Surti) พันธุ์เมซานาหรือเมซานี (Mehsana) และพันธุ์จัฟฟาราบาดิ (Juffarabadi)
2.2.1 กระบือพันธุ์เซอรติ (Surti)
ลักษณะทั่วไป กระบือพนธุ์เซอรติ มีชื่อมาจากชื่อเมือง Surat เป็นเมืองที่ผสมและ
ั
่
คัดเลือกพันธุ์กระบือพันธุ์นี้ขึ้นมาและสงออกไปยังแหล่งอื่น ๆ ในนาม Charotar, Deccani, Deeshi, Gujarati,
ึ
Nadiadi และ Talabda โดยทั่วไปมีสีดำ หรือน้ าตาล ผิวหนังสีด า หรือ สีออกแดง ขนมีสีเทาเงินถงน้ าตาลแดง
ลักษณะประจ าพนธุ์ คือ มีบั้งคอ 2 แถบ ที่คอ ขนใตเข่าและขอขา และบางทีมีทางสีขาวเหนือตาขอบล่างของ
ั
ึ
ู่
ใบหูอาจมีขนสีขาว ตัวที่มีด่างขาวที่หนาผาก ขาและพหางขาวเป็นลักษณะที่พงประสงค เขายาวปานกลาง
เป็นรูปเคียว ชี้ลงยื่นไปข้างหลังและโค้งขึ้นตอนปลายเขาโค้งเป็นตะขอคล้ายเบ็ดตกปลา กระบือพนธุ์นี้มีรูปร่างดี
ั
คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 7