Page 12 -
P. 12
ิ
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ื
บทที่ 2
พันธุ์กระบือ และการคัดเลือกพันธุ์ตามอัตลักษณ์กระบือปลักไทย
ชนิดและพันธุ์ของกระบอ
ื
การแบ่งชนิดและสายพันธุ์ของกระบือนั้น แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงชนิดอื่น ๆ เช่น โค ไก่ สุนัข ที่เลี้ยงกัน
ในประเทศที่พฒนาแล้วค่อนข้างมาก ทั้งนี้ เพราะกระบือมีถิ่นก าเนิดและมีเลี้ยงอยู่เฉพาะในประเทศก าลัง
ั
พฒนาในทวีปเอเชียเท่านั้น การแบ่งชนิดและสายพนธุ์ จึงเป็นการแบ่งตามลักษณะภูมิศาสตร์และสถานที่
ั
ั
โดยอาศัยลักษณะรูปร่างภายนอกคร่าวๆ และมักเรียกชื่อตามภาษาท้องถิ่นที่อยู่นั้น ๆ
กระบือที่เป็นสัตว์เลี้ยง แบ่งโดยการยอมรับทั่ว ๆ ไป เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
- กระบือปลัก (Swamp buffalo)
- กระบือแม่น้ า (River buffalo)
ั
กระบือทั้งสองชนิดจัดอยู่ในวงศ์ตระกูลและสายพนธุ์เดียวกัน คือ “Bubalus Bubalis” แต่ก็มีความ
แตกต่างกันทางสรีระวิทยา รูปร่าง และผลผลิตต่างๆ อย่างเห็นได้ชัดเจน จากการศึกษาทางด้านชีวโมเลกุล
พบว่า กระบือปลักมีจ านวนโครโมโซม 24 คู่ ส่วนกระบือแม่น้ าจะมีจ านวนโครโมโซม 25 คู่ และสามารถผสม
ข้ามพันธุ์ระหว่างกันได้
ตารางแสดงจ านวนโครโมโซมที่เกิดจากการผสมพันธุ์แบบต่างๆ ระหว่างกระบือปลักและกระบือแม่น้ า
การผสมพันธุ์ จ านวนโครโมโซม
1. พันธุ์แท้ X พันธุ์แท้ พ่อแม่ 2n : 48 X 50
(Swamp X Riverine)
ได้ลูกผสม F1 F1 : 2n : 49
2. ลูกผสม X กระบือปลักพันธุ์แท้ พ่อแม่ 2n : 49 X 48
(F1 X Swamp)
ได้ลูกผสม F2 (75%Swamp) F2 : 48, 49
3. ลูกผสม X กระบือแม่น้ าพันธุ์แท้ พ่อแม่ 2n : 49 X 50
(F1 X Riverine)
ได้ลูกผสม F2 (75%Riverine) F2 : 2n : 49, 50
4. ลูกผสม X ลูกผสม พ่อแม่ 2n : 49 X 49
(F1 X F1)
ได้ลูกผสม F2 (50%Swamp , 50 %Riverine) F2 : 2n : 48, 49, 50
ที่มา : Chavananikul (1989)
1. กระบือปลัก (Swamp buffalo)
กระบือปลักเป็นสัตว์ที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศต่างๆ ทางตะวันออกไกล ซึ่งได้แก่ ประเทศไทย
ิ
ฟลิปปินส์ มาเลเซีย อนโดนีเซีย เวียดนาม พม่า จีนตอนใต้ กัมพชา และลาว เป็นต้น ในสมัยก่อนเกษตรกร
ิ
ู
ื่
จะเลี้ยงไว้เพอใช้แรงงานในไร่นา ใช้บรรทุกสิ่งของและลากจูง เมื่อกระบืออายุมากขึ้นก็จะส่งเข้าโรงฆ่า
ื่
ื้
เพอใช้เนื้อเป็นอาหาร ส าหรับประเทศไทยกระบือพนเมืองจะเป็นกระบือปลัก อาจจะเป็นเพราะว่าลักษณะ
ทั่วไปของกระบือชนิดนี้จะชอบนอนแช่ปลัก ชอบลงน้ าเมื่อมีอากาศร้อน มีรูปร่างล่ าสัน ล าตัวหนาลึก ท้องใหญ่
หัวยาวแคบ เขามีลักษณะแบนโค้งไปข้างหลัง หน้าสั้น หน้าผากแบนราบ ตานูนเด่นชัด ช่วงระหว่างรูจมูก
คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 5