Page 13 -
P. 13

ิ
                                            ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์

               ทั้งสองข้างกว้าง คอยาว และบริเวณใต้คอจะมีบั้งคอซึ่งมีขนขาวเป็นรูปตัววี (Chevron) หัวไหล่และอกนูนเห็น
               ได้ชัดเจน ผิวหนังมีสีเทาเข้มเกือบด า ที่เป็นสีขาวเผือกก็มีอยู่บ้างเห็นได้ทั่วไป










                       2. กระบือแม่น้ า (River buffalo)
                           กระบือแม่น้ าได้รับการคัดเลือกและผสมพนธุ์กันมาหลายชั่วอายุ ในอนเดียและปากีสถานจนเกิด
                                                                                   ิ
                                                             ั
               เป็นกระบือพนธุ์นมขึ้นมา กระบือแม่น้ านอกจากจะช่วยเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ที่ดีของคนในประเทศ
                           ั
                                                                               ื่
               เหล่านั้นแลว ประเทศอื่นยังน าเขาไปใชในการปรับปรุงพันธุ์กระบือพื้นเมืองเพอใหได้กระบือลูกผสมที่ใหผลผลิต
                                                                  ั
               น้ านมอย่างได้ผลมาแลว มีพนธุ์กระบือแม่น้ าเกิดขึ้นหลายพนธุ์ในเขตต่างๆ ทั้งในอนเดียตะวันตกเฉียงเหนือ
                                                                                     ิ
                                       ั
               อนเดียกลาง อนเดียใต ปากีสถาน และยุโรป กระบือประเภทนี้จะมีขนาดใหญ่ รูปร่างแข็งแรง ลักษณะทั่วไป มี
                           ิ
                 ิ
               ผิวหนังสีด า หัวสั้น หน้าผากนูน เขาสั้นและบิดม้วนงอ ส่วนล าตัวจะลึกมาก ขนยาว โครงสร้างใหญ่ เต้านมใหญ่
               เหนียงที่หน้าอกยาน ปลอกหุ้มลึงค์หย่อนยาวเหมือนโคซีบู ถุงอัณฑะก็หย่อนยาวกว่ากระบือปลัก ซึ่งพอจ าแนก
                              ั
                                                                             ั
               ออกได้เป็นสายพนธุ์ตาง ๆ ตามถิ่นที่อยู่ (FAO, 1977) ได้แก่ กระบือสายพนธุ์อนเดียตะวันตกเฉียงเหนือ และ
                                                                                 ิ
               ปากีสถาน
                           2.1 สายพันธุ์อินเดียตะวันตกเฉียงเหนือ และปากีสถาน (Northwest India and Pakistan)
                               ในเขตนี้เลี้ยงกระบือในกลุมมูร่าห์ (Murrah group) ซึ่งได้แกกระบือพันธุ์มูราห, นิริ-ราวี และ
               พันธุ์กุนดิ กระบือในกลุมน ได้รับการคัดเลือกเป็นเวลายาวนานเพอผลิตน้ านม และได้แพรกระจายไปยังแถบอน ๆ
                                                                   ื่
                                                                                                      ื่
                                     ี้
               ของอินเดีย รวมทั้งในต่างประเทศ ซึ่งในทองที่ต่าง ๆ ก็ปรับปรุงพันธุ์ขึ้นมา เชนพันธุ์ราวี, นิริ และกุนดิ ได้รับการ
                                    ุ์
               สนับสนุนใหแยกเป็นพันธ ต่างๆ จากทางการ แต่อย่างไรก็ตามพันธุ์นิริ และราวี มีความคล้ายคลึงกันมากจึงได้
               รวมเป็นพันธุ์เดียวกันเรียกวา นิริ-ราวี
                                                  ู
                                                                                   ั
                               2.1.1  กระบือพันธุ์มราห (Murrah) ลักษณะทั่วไป กระบือพนธุ์นี้มีหนังและขนสีด าสนิท
                                            ึ
               เป็นสีที่นิยม มีพู่หางสีขาวเป็นสีที่พงประสงค์  ถ้าหางสีด าตลอดถือวาเป็นโชคร้าย รอยด่างขาวที่หัวและขาเป็น
                          ึ
               ลักษณะไม่พงประสงค กระบือเผือก (ขาว) หายากมากและไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นพันธุ์มูราห เมื่อโตเต็มที่
               เพศผู้มีน้ าหนักประมาณ 400-800 กิโลกรัม (บางตัวหนักถึง 1,000 กิโลกรัม) เพศเมียหนัก 350-700 กิโลกรัม

               การใหนมเฉลี่ยประมาณ 1,350-1,450 ลิตรต่อระยะการใหนม (300 วัน) มีไขมันสูงถึง 7 เปอร์เซ็นต
               ในปากีสถานมีรายงานวาใหนมถึง 2,700 – 3,600  ลิตร  ลักษณะด้อย เนื่องจากเป็นกระบือขนาดใหญ่ เชื่องช้า
               และไม่ทนความร้อน จึงไม่เหมาะที่จะใชงาน แต่ในทางตอนเหนือของอินเดียก็ยังมีใช้ในการลากเกวียน












                     ื
               6 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18