Page 90 -
P. 90

ิ
                                              ์
                                                                             ั
                                                             ิ
                               ื
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                           ิ
                                  ิ
                                                                                     ุ
                                                                                                           84

                              การปóดหรือการเปUนสEวนตัวมากไปไมEสEงผลดีตEอความสัมพันธQแบบใกล:ชิด แตEบางครั้งการเปóดเผยข:อมล
                                                                                                            ู
                              หรือการแสดงออกมากไปก็ไมEดีเชEนกัน เราจะจัดการความขัดแย:งนี้อยEางไร

                         งานวิจัยพบวEาการสื่อสารของคูEสมรสในการจัดการกับความขัดแย:งระหวEางการเปóดเผยและการปกปóดมี 6 วิธ  ี

               ได:แกE (1) การเลือกหัวข:อ เปUนการจำกัดการอภิปรายในบางหัวข:อ และเปóดเผยในหัวข:ออื่น ๆ (2) การเลือกเวลา เปUนการ
                           E
                          ี
                                                                                                      ิ
                       :
                 E
               ไมพดหวขอท่ออนไหวในบางเวลา (3) การถอน เปUนการละทิ้งการสนทนา (4) การสืบสวนหรือสอบถามข:อมูลเพ่มเติมจาก
                   ู
                     ั
                                                                                                    ิ
                                                                :
               คูEสัมพันธ (5) กลยุทธQการตEอต:านสังคม ได:แกE การตะโกน การรองไห: การแสดงอาการไมEพอใจทางสีหน:าและรมฝÅปาก  (6)
                       Q
               การหลอกลวง เปUนการบิดเบือนข:อเท็จจริงหรือละข:อมูลบางอยEางเพื่อรักษาความเปUนสEวนตัวและหลีกเลี่ยงความขัดแย:งท ี่
               จะเกิดขึ้นกับความสัมพันธQ (Angela Hoppe-Nagao and Stella Ting-Toomy, 2002)

                                                                                                       E
                          (3) ความใหมsและการทำนายได, (Novelty and Predictability) การขัดแย:งระหวEางความใหมและการ
                       :
                         U
               ทำนายไดเปนความขัดแย:งระหวางความสบายใจเกี่ยวกับเสถียรภาพหรอความมั่นคงกับความตื่นเต:นกับความเปลี่ยนแปลง
                                                                      ื
                                        E
               ซึ่งเปUนความเกี่ยวเนื่องสัมพันธQกันระหวEางความแนEใจ (Certainty) และความไมEแนEใจ (Uncertainty) ที่มีอยูEใน
               ความสัมพันธQ

                       นอกจากความขัดแย:งพื้นฐานข:างต:นแล:ว ยังมีความขัดแย:งอื่นที่พบจากงานวิจัย เชEน ความขัดแย:งระหวEางการ
               วิจารณหรือตัดสินผู:อื่น (Judgement) และการยอมรับ (Acceptance) ท่พบในความสัมพนธQระหวEางเพ่อน ท่คEสัมพนธQจะ
                                                                                     ั
                                                                        ี
                                                                                                     ู
                                                                                                         ั
                     Q
                                                                                               ื
                                                                                                    ี
                                                                                                            :
               พิจารณาตัดสินความประพฤติของอีกฝèายวEาดีหรือไมEดี หรือจะยอมรับพฤติกรรมนั้น สEวนในองคQการ พบความขัดแยง
               ระหวEางความต:องการเปUนผู:ใต:บังคับบัญชา (Subordinate) และความต:องการเทEาเทียมกัน (Equal) ในทีมงาน

                              ความขัดแย,งภายนอกความสัมพันธ@

                                                                                                            :
                                นอกจากความต:องการที่ขัดแย:งจะเกิดขึ้นภายในความสัมพันธQระหวEางบุคคลสองฝèายดังที่กลEาวข:างตน
               แล:ว ยังมีความขัดแย:งภายนอกความสัมพันธQ (External dialectics) ซึ่งเปUนความขัดแย:งของคูEสัมพันธQกับบุคคลอื่นใน
               ชีวิตประจำวัน เชEน ครอบครัว ญาติพี่น:อง เพื่อน ๆ ดังแผนภาพที่ 6.1 (Dainton and Zelly, 2015)
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95