Page 148 -
P. 148
ิ
ิ
์
ิ
ุ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ั
ิ
142
E
รถยนตQมีประสบกาณQโดยตรง สEวนประเด็นโลกร:อนและผลกระทบตEอชีวิตประจำวันจะเห็นได:ไมEชัดเจนเทา
การนำเสนอขEาวของสื่อมวลชนจะมีผลตEอการรับรู:ของสาธารณชนมากในประเด็นที่ผู:รับสารขาดความ
เช่อมโยงกบประเดนปญหาโดยตรง สEวนประเด็นที่ประชาชนมีประสบการณตรงอยEางราคาน้ำมัน ประชาชน
i
Q
ั
็
ื
จะรับรู:ถึงความสำคัญแม:วEาสื่อจะไมEนำเสนอขEาวก็ตาม ประเด็นที่ขาดความเชื่อมโยงอยEางปiญหาโลกร:อน
E
ึ
้
ั
่
สาธารณชนรับรู:วEาสำคัญมากขนอยางชดเจนภายหลงการเผยแพรEภาพยนตรQเรอง An Inconvenient Truth
ื
ั
ของ Al Gore หรือปiญหาคEาครองชีพสูงก็เปUนเรื่องที่สาธารณชนเห็นวEาสำคัญแม:วEาสื่อจะรายงานขEาวน:อย
หรือไมนำเสนอเลยก็ตาม เพราะประชาชนมีความเชื่อมโยงหรือมีประสบการณQตรงกับประเด็นนั้น
E
(3) การวางกรอบการนำเสนอขsาว (Framing) อีกปiจจัยที่มีผลกระทบตEอวาระของสาธารณะ (Public’s
agenda) คือ การวางกรอบการนำเสนอขEาว ซึ่งเปUนการเลือกและเน:นความสำคัญของบางแงEมุมของ
เหตุการณQหรือประเด็นขEาว รวมทั้งการสร:างความเชื่อมโยงของแงEมุมเหลEานั้นเพื่อชEวยการตีความและการ
ประเมิน กรอบเปUนการจัดระเบียบเนื้อหาขEาวที่ให:บริบทเหตุการณและชวEาประเด็นคืออะไรผEานการ
Q
ี้
เลือกสรร การเน:น การตัด และการขยายความ กรอบการนำเสนอขEาว (News frame) เปUนบรรจุภัณฑQของ
องคQประกอบตEาง ๆ ของสาร เชEน การจัดเรียบเรียง การนำเสนอหรือการตัดหัวข:อยEอย รายละเอียดในขEาว
ขนาดและตำแหนEงของขEาว รูปแบบและโทนของภาษา ที่ชEวยให:ทัศนะหรือมุมมองสำหรับการทำความเข:าใจ
หัวข:อ เปรียบเทียบได:กับกรอบชEองมองภาพ (Viewfinder) ของกล:องถEายภาพทจับเฉพาะบางสEวนของฉาก
ี่
และผู:ถEายภาพต:องเลือกวEาจะนำเสนออะไรในกรอบภาพบ:าง และจะให:จุดสนใจอยูEที่สEวนประกอบใด ใน
E
ทำนองเดียวกัน สื่อต:องเลือกวาจะเสนอข:อมูลใดในขEาว เน:นรายละเอียดในสEวนใด และตัดข:อมูลใดออก เชน
E
ประเด็นสาธารณสุขในปÅ 2014 เมื่อ Thomas Eric Duncan นักเสรีนิยม ได:เปUนผู:ปèวยคนแรกใน
สหรัฐอเมริกาที่ถูกวินิจฉัยวEาติดเชื้อ Ebola เมื่อสื่อรายงานขEาวออกไป 8 วันหลังจากนั้น Duncan เสียชีวต
ิ
และพยาบาลสองคนก็ติดเชื้อด:วยเชEนกัน สื่อมีทางเลือกในการวางกรอบประเด็นสาธารณสุขนี้ สถานีขEาวแหง E
หนึ่งนำเสนอประเด็นมาตรการของรัฐบาลในการวินิจฉัยโรคและการกักตัวผู:ติดเชื้อ อีกสถานีหนึ่งเน:นที่การ
ื่
กรองผู:โดยสารที่สนามบินหลักและตั้งคำถามเกี่ยวกับการควบคุมเขตแดนและการอพยพเข:าประเทศ สื่ออน
อาจเน:นที่พยาบาลสองคนที่ติดเชื้อและตรวจสอบการดำเนินงานด:านการพยาบาลของโรงพยาบาลท ี่
็
Duncan รับการรักษาตัว มีการใช:ภาพที่เร:าอารมณQและคำพูดที่ทำให:คนให:ความสำคัญกับประเดน
สาธารณสุขมากขึ้น ไมEวEาการนำเสนอขEาวจะไปในทางใด วิธีที่สื่อวางกรอบประเด็นสาธารณสุขและความ
ปลอดภัยในเรื่อง Duncan ไมEได:มีอิทธิพลเพียงแคEสิ่งที่สาธารณะควรคิด (ไวรัสอีโบลEา) แตEยังมีอิทธิพลตอ
E
วิธีการคิดของสาธารณะด:วย (เชEน โรคเปUนการคุกคามตEอสุขภาพและความเปUนอยูEของคน)
กรอบการนำเสนอขEาวมีผลกระทบตEอการรับรู:เกี่ยวกับประเด็นของสาธารณชน การรับรู:ปiญหาจะ
เปUนไปในทิศทางใด เชEน ประชาชนจะรับรู:เรื่องการควบคุมปØนวEาเปUนการละเมิดเสรีภาพหรือเปUนการ
คุ:มครองความปลอดภัยของประชาชน งานวิจัยจำนวนมากพบวEากรอบการนำเสนอขEาวมีผลกระทบตEอการ
ตีความประเด็นปiญหาของสาธารณชน และบุคคลที่ผู:รับสารคิดวEาเปUนผู:ทต:องรับผดชอบตอการจัดการปญหา
E
ิ
i
ี่
เชEน Maher (1996) ได:ศึกษาผลกระทบของกรอบการนำเสนอขEาวปiญหาสิ่งแวดล:อมในท:องถิ่นในเมือง