Page 108 -
P. 108
ิ
์
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
86
ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ แนวโน้มความต้องการปาล์มน้ำมัน
ตามสถานการณ์โลก และการวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจและการพัฒนาตลาด
6. การวิจัยด้านการบริหารจัดการบุคคล เป็นการวิจัยเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้ดีขึ้น รวมไปถึงมีแนวทางในการบริหารจัดการองค์กรที่มี
ประสิทธิภาพ แบ่งได้เป็น 3 ด้าน ได้แก่ การยกระดับเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรสวน
ปาล์ม การยอมรับเทคโนโลยีและข้อจำกัดของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์ม และพลวัตของแรงงานในสวน
ปาล์มน้ำมัน
1 ด้านสายพันธุ์ 2 ด้านกระบวนการผลิต 3 ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
การพั นาพันธุ์ให้มีความทนทานต่อการ การจัดการระบบการผลิต การจัดการทรัพยากรดิน
เปลี่ยนแปลงของ ูมิอากาศ
การจัดการศัตรูพืช การจัดการทรัพยากรน า
การจัดการพันธุกรรม
เครื่องมือและอุปกรณ์ส าหรับการผลิต การปลดปล่อยก า คาร์บอนไดออกไ ด์
การผลิตเมล ดพันธุ์
การจัดการหลังการเก บเกี่ยว
4 ด้านการแปรรูป 5 ด้านเศรษฐกิจและการตลาด 6 ด้านการบริหารจัดการบุคคล
แนวโน้มความต้องการปาล์มน ามัน การยกระดับเสริมสร้างความเข้มแข งให้กับ
ผลิต ัณ ์จากปาล์มน ามัน
ตามสถานการณ์โลก เกษตรกรสวนสวนปาล์ม
การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจและ การยอมรับเทคโนโลยีและข้อจ ากัดของเกษตรกรผู้
การจัดการกระบวนการแปรรูป
การพั นาตลาด ปลูกปาล์ม
แนวทางการเพิ่มมูลค่าปาล์มน ามัน พลวัตของแรงงานในสวนปาล์มน ามัน
ั
รูปที่ 2-26 การจดกลุ่มงานวิจัยปาล์มน้ำมันในต่างประเทศ
2.5.2 กรอบการวิจัยปาล์มน ำมันของประเทศไทยในปัจจุบัน
สำหรับความเป็นมาของงานวิจัยด้านปาล์มน้ำมัน เนื่องจากปาล์มน้ำมันเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีอนาคต แต ่
อุตสาหกรรมกลางน้ำและปลายน้ำของปาล์มน้ำมันไทยอาจต้องเผชิญอุปสรรคดานต้นทุนวัตถุดบน้ำมันปาลมท ี่
้
์
ิ
สูง เนื่องจากต้นทุนการผลิตน้ำมันปาล์มของไทยสูงกว่าอินโดนีเซียและมาเลเซีย ดังนั้น งานวิจัยด้านปาลม
์
น้ำมันจึงมีความจำเป็นและสำคัญเพื่อเป็นองค์ความรู้แก่ประเทศไทยในฐานะผู้ผลิตน้ำมันปาล์มรายใหญ่เพื่อ
ั้
สนับสนุนการเตรียมพร้อมปรับตัวทั้งในระยะสนและยาว โดยเฉพาะในการพัฒนายกระดับคุณภาพผลผลิตให้
้
ตรงตามมาตรฐานโลก (Round Table for Sustainable Palm Oil, RSPO) เพื่อรักษาและเพิ่มระดับการคา
่
น้ำมันปาล์ม รวมทั้งหาโอกาสเพิ่มมูลค่าปาล์มน้ำมันผ่านการส่งเสริมการขยายอุตสาหกรรมปลายน้ำที่มีมูลคาสง
ู
ในประเทศ เพื่อให้การปลูกปาล์มน้ำมันและอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันของไทยมีความยั่งยืนและมีศักยภาพ
แข่งขันในระดับภูมิภาคได ้
โดยในปัจจุบันองค์กรที่ดำเนินการและขับเคลื่อนงานวิจัยเรื่องปาล์มน้ำมันไทยมีความเกี่ยวข้องกับหลาย
หน่วยงาน เช่น กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานพัฒนาการวิจัย
การเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) และมหาวิทยาลัยตาง ๆ (สำนักงานการวิจยแห่งชาติ (วช.), 2564b) โดย
ั
่
ประเด็นของการวิจัยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันมีตั้งแต่ในด้านของการปรับปรุงพันธุ์ให้ได้ผลผลิต
และน้ำมันสูง เทคโนโลยีการจัดการการผลิตในสวนปาล์มน้ำมัน การจัดการชีวมวลเหลือทิ้งและน้ำเสียของ