Page 104 -
P. 104
ิ
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
82
2.5.1.2 ประเทศอินโดนีเ ีย
อินโดนีเซีย เป็นประเทศที่มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (Oil Palm) มากที่สุดในโลก และสามารถผลิตน้ำมัน
ปาล์มดิบ (Crude Palm Oil, CPO) ได้มากที่สุดเป็นอันดบ 1 ของโลกเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2564 อินโดนีเซีย
ั
มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน 75.62 ล้านไร่ (IndexMundi, 2021) สามารถผลิตน้ำมันปาล์มดิบได้ถึง 44.50 ล้านตัน
(United States Department of Agriculture, 2021) โดยจังหวัดที่มีการปลูกปาล์มน้ำมันและผลิตน้ำมัน
ปาล์มดิบมากที่สุดในอินโดนีเซีย ได้แก่ จังหวัดเรียว (Riau) รองลงมา คือ สุมาตราเหนือ (North Sumatera)
และสุมาตราใต (South Sumatera) นอกจากนี้ อินโดนีเซียยังมีการแต่งตงหน่วยงานซึ่งมีบทบาทใน
้
ั้
การกำหนดแผนพัฒนาอุตสาหกรรม โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ปาล์มเพื่อยกระดับคุณภาพและ
ี่
ู
ี่
เพิ่มอัตราการให้น้ำมัน รวมทั้งมีหน่วยงานที่รับหน้าทดูแลเกษตรกรในการพัฒนาพื้นทเพาะปลก การสกัดและ
การกลั่น การเพิ่มมูลค่าแก่ผลตภัณฑ์ และการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการตลาดด้วย นอกจากนี้ อินโดนีเซียยังมี
ิ
้
นโยบายในการผลักดันการใชน้ำมันปาล์มดิบมาผลิตเป็นไบโอดีเซลเพื่อที่จะลดการนำเข้าน้ำมันและลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในประเทศ ซึ่งคาดว่าไบโอดีเซลจะเติบโตขึ้นร้อยละ 70 ในปี พ.ศ. 2563 (กรม
ั
ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์, 2560; ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลย
หอการค้าไทย, 2556)
IOPRI มีหน้าที่หลักในการท าวิจัยและพัฒนาในทุกด้านของอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน และส่งมอบผลการวิจัยในรูปแบบของการ
บริการให้กับกลุ่มผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน
บทบาทหน้าที่ หัวข้อการวิจัย
• พั นางานวิจัยและเทคโนโลยีขั นสูงเกี่ยวกับ 1 การวิจัยดินและพืชไร่ (Soil Science & Agronomy)
ปาล์มน้ ามันที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การส ารวจความอุดมสมบูรณ์ของดิน และอุทกวิทยา เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ของสารอาหารและพืช
• จัดหาผลิต ัณ ์และบริการการวิจัย 2 การปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีชีว าพ (Plant Breeding & Biotechnology)
เพิ่มอัตราส่วนน้ ามันในผลปาล์ม การอนุรักษ์ ปรับปรุง ประเมิน และใช้เชื้อพันธุกรรม
• พั นาความสามารถในการแข่งขันของปาล์ม 3 การอารักขาพืช (Plant Protection)
น้ ามัน มุ่งเป้าที่การสนับสนุนแนวคิดการควบคุมศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
4 การวิจัยผลิต ัณ ์และการควบคุมคุณ าพ (Product Processing and Quality)
พัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ขั้นปลาย เช่น อาหารเสริม ผลิตภัณฑ์พลังงานเคมีพิเศษ
5 การวิจัยทางวิศวกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อม (Technology Engineering & Environmental
Management) เช่น เทคโนโลยีเครื่องจักรกลส าหรับสวนปาล์ม เทคโนโลยีการจัดการของเสียจากโรงงานสกัดน้ ามัน
6 การวิจัยทางสังคมศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐศาสตร์ (Socio-Techno-Economic)
การยกระดับเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสวัสดิการของเกษตรกรและการพัฒนาภูมิภาค
รูปที่ 2-24 สถาบันวิจัยปาล์มน้ำมันแห่งอินโดนีเซีย (IOPRI)
ที่มา: Indonesian Oil Palm Research Institute (IOPRI) (2020)
สถาบันวิจัยปาล์มน้ำมันแห่งอินโดนีเซีย (Indonesian Oil Palm Research Institute, IOPRI) มีหน้าท ี่
หลักในการทำวิจัยและพัฒนาในทุกด้านของอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน และส่งมอบผลการวิจัยในรูปแบบของ
การบริการให้กับกลุ่มผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน โดยได้จัดกลุ่มงานวิจัยออกเป็น 6 กลุ่ม คอ
ื
ี
1. การวิจัยดินและพืชไร่ 2. การปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีชวภาพ 3. การอารักขาพืช 4. การวิจัยผลิตภัณฑ์
และการควบคุมคุณภาพ 5. การวิจัยทางวิศวกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อม และ 6. การวิจัยทางสังคมศาสตร์
เทคโนโลยี และเศรษฐศาสตร์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้