Page 106 -
P. 106
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
84
2. การปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีชีว าพ (Plant Breeding & Biotechnology) เป็นการวิจัยเพื่อเพิ่ม
อัตราส่วนน้ำมันในผลปาล์ม การอนุรักษ์ ปรับปรุง ประเมิน และใช้เชื้อพันธุกรรม โดยมีตัวอย่าง
ิ
โครงการวิจัย อาท การปรับปรุงพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิตและอัตราการสกัดน้ำมันปาล์ม การปรับปรุงพันธุ์เพื่อ
ื
เพิ่มความต้านทานต่อเช้อรากาโนเดอร์มา การอนุรักษ์ ประเมิน และใช้ประโยชน์ของเชื้อพันธุ์ การจำแนก
ลักษณะและการประเมินพันธุ์ที่นำเข้าจากแคเมอรูนและแองโกลา การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มเพื่อปลูกในสภาพ
ี่
ทใช้ปัจจัยการผลิตต่ำ พันธุ์ปาล์มน้ำมันดัดแปลงทเหมาะสมสำหรับพื้นทที่มีกรดซัลเฟตในระดับต่าง ๆ
ี่
ี่
การปรับปรุงพันธุ์ปาล์มที่มีคุณสมบัติดีขึ้นผ่านกระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
3. การอารักขาพืช (Plant Protection) มุ่งควบคุมศัตรูพืชและโรคที่สำคัญของปาล์มน้ำมัน แบ่งเป็น
์
่
1. การวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น ชีววิทยา นิเวศวิทยา และระบาดวิทยา และ 2. การวิจัยประยุกต เชน
การควบคุมทางชีวภาพ การควบคุมทางเคมี ซึ่งทุกแง่มุมของการวิจัยนี้จะดำเนินการเพื่อสนับสนุนแนวคิด
ของการควบคุมศัตรูพืชแบบผสมผสานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (IPM) โดยมีตัวอย่างโครงการวิจัย อาท ิ
การสำรวจความต้านทานต่อเชื้อรากาโนเดอร์มา การทดสอบพันธุ์ปาล์มน้ำมันในพื้นทซึ่งมีปัญหาเชื้อรา
ี่
กาโนเดอร์มา การควบคุมเชื้อรากาโนเดอร์มา โรคใบเหลือง (Phytoplasma) ในสวนปาล์มน้ำมันของ
ประเทศอินโดนีเซีย การจัดการผีเสื้อหนอนปลอกใหญ่และ Clania sp. ในสวนปาล์มน้ำมันแบบผสมผสาน
การกำจัดปลวกด้วยระบบเหยื่อปลวก (PPKS Termidown-16) การศึกษาเกี่ยวกับประชากรแมลงในสวน
ปาล์มน้ำมันในภาคตะวันตกของอินโดนีเซีย
4. การวิจัยผลิต ัณ ์และการควบคุมคุณ าพ (Product Processing and Quality) มุ่งพัฒนา
อุตสาหกรรมแปรรูปขั้นปลาย เช่น อาหาร ผลิตภัณฑ์พลังงาน เคมีภัณฑ์
4.1. การพัฒนาการออกแบบอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์ขั้นปลาย เช่น โรงงานต้นแบบสำหรับ
การผลิตอะซิโตน-บิวทานอล-เอธานอลจากไฮโดรไลเสตของผลปาล์มน้ำมัน
์
4.2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและยาเพื่อสุขภาพ เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารพิเศษจากเมล็ดในปาลม
โปรตีนเข้มข้นจากเค้กเมล็ดในปาล์ม เนยโกโก้เทียม มาการีน และชอร์ตเทนนิ่ง ผลิตภัณฑ์
นาโนอิมัลชันสีผสมอาหารจากกากใยปาล์ม ผลิตภัณฑ์ครีมต่อต้านริ้วรอยจากน้ำมันปาล์ม
ี
4.3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์พลังงานและเคมีภัณฑ์พิเศษจากน้ำมันปาลมและชวมวล เช่น เชอเพลงชวภาพ
์
ื้
ิ
ี
ผลิตภัณฑ์กลีเซอรอลบริสุทธิ์จากผลพลอยไดในการผลิตไบโอดีเซล ผลิตภัณฑ์กลีเซอรอลคาร์บอเนต
้
4.4. การพัฒนาขั้นตอน วิธีการวิเคราะห์ และระบบการควบคุมคุณภาพ
5. การวิจัยทางวิศวกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อม (Technology Engineering & Environmental
ี
ั
Management) เช่น เทคโนโลยีเครื่องจักรกลสำหรับสวนปาล์ม เทคโนโลยีการจดการของเสยจากโรงงาน
ั
ิ
ิ
ุ
สกัดน้ำมัน โดยมีตัวอย่างโครงการวิจย อาท เทคโนโลยีการผลตวัสดโครงสร้างจากปาลมน้ำมัน เทคโนโลยี
์
สำหรับการจัดการสวนปาล์มน้ำมัน เทคโนโลยีชีวมวลปาล์มน้ำมันและเทคโนโลยีคอมโพสิต เทคโนโลยี