Page 109 -
P. 109

ิ
                                          ิ
                                             ์
                                                                              ิ
                                                                  ิ
                            ื
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                              87
                  โรงงานสกัดให้เป็นศูนย์และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ การรวมกลุ่มของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันและ

                  การร่วมมือกันของผู้ทเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน ตลอดจน การวิจัยงานนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลคาชว
                                    ี่
                                                                                                         ่
                                                                                                            ี
                  มวลเหลือทิ้งในสวนปาล์มน้ำมัน และการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เป็นต้น (สำนักงานพัฒนา
                  การวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.), 2557)
                                                      ่
                                                     ี่
                      แต่จากการติดตามผลการดำเนินงานทผานมา พบว่า ผลงานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันจำนวนหนึ่งยังไม่สามารถ
                  นำไปสู่การใช้ประโยชน์ได้ และเมื่อพิจารณาถึงงบประมาณสนับสนุนดานการวิจยก็พบว่ามีการลงทนมีจำนวน
                                                                            ้
                                                                                                    ุ
                                                                                    ั
                                                              ี่
                  น้อย เนื่องจากภาครัฐยังไม่เห็นความสำคัญด้านนี้เท่าทควร เพราะการลงทุนวิจัยกว่าจะได้ผลใช้เวลานาน ทำให้
                                                                                               ู่
                  รัฐบาลขาดความสนใจในการลงทุนการวิจัยและพัฒนาภาคการเกษตร แม้ว่าการวิจัยจะนำไปสการสร้างความรู้
                                                                  ี่
                  เพื่อเตรียมรับกับอนาคตก็ตาม ดังนั้น ผู้บริหารหน่วยงานททำวิจัยและให้ทุนสนับสนุนการวิจัยจึงควรร่วมกันหา
                  แนวทางแก้ปัญหานี้ด้วยการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานผ่านการจัดทำยุทธศาสตร์การวิจัยราย

                  ประเด็นด้านปาล์มน้ำมัน เพื่อทุกหน่วยงานจะได้ใช้ยุทธศาสตร์การวิจัยนี้เป็นแผนแม่บทและแนวทาง

                  การดำเนินงานวิจัยด้านปาล์มน้ำมันของประเทศ โดยเน้นความต้องการของเกษตรกรและผู้ประกอบการเป็น
                  หลัก ใช้งานวิจัยเป็นส่วนหนุนเสริมเพิ่มความเข้มแข็งของผลิตผลปาล์มน้ำมันผ่านจุดแข็งของแต่ละหน่วย

                  งานวิจัยและผ่านความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์การพัฒนาอย่างยั่งยืน

                      ทั้งนี้ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (2560) ได้ทำการวิเคราะห์จุดอ่อนในประเด็นการพัฒนาและวิจัย
                  ด้านปาล์มน้ำมันของประเทศไทยไว้ ดังนี้

                      1.  ประเทศไทยยังขาดงานวิจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์ด้านปาล์มน้ำมัน ซึ่งสามารถเป็นฐานข้อมูลใน
                         การตัดสินใจวางแผนควบคุมจุดรับซื้อผลปาล์ม ก่อให้เกิดระบบการรับซื้อที่ได้มาตรฐานซึ่งส่งผล

                         กระทบโดยตรงกับราคาที่สูงขึ้นของปาล์มสด

                      2.  ประเทศไทยยังขาดงานวิจัยในการพัฒนาพันธุ์ปาล์มที่มีผลผลิตและเปอร์เซ็นต์น้ำมันปาล์มสูง
                      3.  ประเทศไทยยังขาดงานวิจัยการกำหนดขนาดพื้นที่ปลูกต่อขนาดครัวเรือนที่มีขนาดเล็ก เพื่อทำให้

                         คุ้มค่ากับการลงทุนในเชิงพาณิชย์
                      4.  ประเทศไทยยังขาดงานวิจัยเพื่อพัฒนาวัสดุการเกษตรที่มีคุณภาพและราคาต่ำ เช่น ปุ๋ยที่มีคุณภาพและ

                         มีราคาต่ำ ซึ่งจะทำให้ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยต่ำลง

                      5.  ประเทศไทยยังขาดงานวิจัยเพื่อตอบโจทย์เกษตรกร ทั้งรายใหญ่และรายย่อยที่รับการสนับสนุนจาก
                         ภาครัฐ อาทิ การปรับเปลี่ยนพันธุ์ใหม่ (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), 2560)

                      สำหรับ ทิศทางงานวิจัยปาล์มน้ำมันไทย ควรต้องดำเนินการวิจัยทั้งในส่วนที่มีการดำเนินการอยู่แล้วและใน

                  ส่วนที่ขาดไป เพื่อมุ่งให้เกิดการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มปาล์มน้ำมันทั้งระบบอย่างยั่งยืนตามวิสัยทัศน์ของ
                                                                                                     ั
                  การวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในหลายดาน ซึ่งหากไทยสามารถจบกระแส
                                                                                 ้
                  ได้ถูกต้องและเตรียมการรับมือกับอนาคตได้ดี ก็หมายความว่าไทยจะสามารถใชผลงานวิจยในการสร้างรายได ้
                                                                                    ้
                                                                                            ั
                  เข้าประเทศได้ไม่แพ้ชาติอื่นและมีความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น โดยมีประเด็นที่ควรพิจารณาสำหรับตั้ง
                  เป็นโจทย์การวิจัย เช่น
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114