Page 107 -
P. 107
ิ
ื
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
85
ิ
การอนุรักษ์พลังงานและระบบควบคุมอัตโนมัตภายในสวน เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียของโรงสกัดน้ำมัน
ปาล์ม การจัดการสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ
์
6. การวิจัยทางสังคมศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐศาสตร (Socio-Techno-Economic) การพัฒนา
อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันไม่สามารถแยกออกจากด้านสังคมและเศรษฐกิจได้ โดยจะต้องอาศัยการพัฒนา
ี่
เทคโนโลยีควบคู่กันไป ทั้งนี้ ทิศทางการวิจยจะมุ่งเน้นที่การแก้ไขปัญหาความร่วมมือระหว่างบริษัททปลูก
ั
ี่
์
สวนและชุมชนที่มักมีความขัดแย้ง การพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกทมีปัญหา การทำแผนอุตสาหกรรมปาลม
น้ำมัน การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ และการพัฒนาตลาด โดยมีตัวอย่างโครงการวิจัย อาท พลวัตของ
ิ
การจ้างงานในสวนปาล์มน้ำมัน การประเมินรูปแบบการพัฒนาสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรรายย่อย
ผลกระทบของรูปแบบการพัฒนาสวนปาล์มน้ำมันต่อการพัฒนาภูมิภาค การออกแบบรูปแบบการเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเกษตรกร (Indonesian Oil Palm Research Institute (IOPRI), 2020)
ทั้งนี้ จากการรวบรวมและศึกษางานวิจัยด้านกลุ่มปาล์มน้ำมันในต่างประเทศ ทั้งมาเลเซีย อินโดนีเซีย และ
ั
ประเทศอื่น ๆ (แสดงรายละเอียดในภาคผนวก ง.) สามารถจัดกลุ่มของงานวิจัยได้เป็น 6 ประเภทหลก
ประกอบด้วย 1. การวิจัยด้านสายพันธุ์ 2. การวิจัยดานกระบวนการผลิต 3. การวิจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ
้
4. การวิจัยด้านการแปรรูป 5. การวิจัยด้านเศรษฐกิจและการตลาด และ 6. การวิจัยด้านการบริหารจัดการ
บุคคล โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ิ
1. การวิจัยด้านสายพันธุ์ เป็นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีผลตสายพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้มีความทนทาน
ต่อการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ เพิ่มผลผลิตต่อไร่ รวมทั้งการผลิตเมล็ดพันธุ์ ซึ่งประกอบด้วย
การพัฒนาพันธุ์ให้มีความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเพิ่มคุณค่าของปาล์ม
น้ำมัน และเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ำมัน
ั
2. การวิจัยด้านกระบวนการผลิต เป็นการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบการเพาะปลูก การจดการ
ศัตรูพืช รวมไปถึงการพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม
ใหม่ ๆ โดยแบ่งได้เป็น 4 ด้าน ได้แก่ การจัดการระบบการผลิต การจัดการศัตรูพืช เครื่องมือและ
อุปกรณ์สำหรับการผลิต และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
3. การวิจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นการวิจัยเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพและการบริหาร
จัดการของทรัพยากรธรรมชาติที่จำเป็นต่อการเพาะปลูกปาล์มน้ำมัน โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คอ
ื
การจัดการทรัพยากรดิน การจัดการทรัพยากรน้ำ และการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด ์
4. การวิจัยด้านการแปรรูป เป็นการวิจัยและพัฒนากระบวนการในการผลิตผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันท้งท ี่
ั
้
เป็นอาหารและมิใช่อาหารเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลปาล์มน้ำมันและผลพลอยไดจากการแปรสภาพ รวมทั้ง
ส่วนอื่น ๆ ของปาล์มน้ำมัน สามารถแบ่งออกไดเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากปาล์มน้ำมัน
้
การจัดการกระบวนการแปรรูป และแนวทางการเพิ่มมูลค่าของปาล์มน้ำมัน
5. การวิจัยด้านเศรษฐกจและการตลาด งานวิจัยในกลุ่มนี้เป็นงานวิจัยทเป็นตัวสนับสนุนให้สามารถทำ
ิ
ี่
้
การตลาดเชิงรุก มีสินค้าอุปโภค - บริโภคและส่งออกไดตรงตามความต้องการของตลาด ซึ่งอยู่ภายใต ้