Page 112 -
P. 112
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ิ
90
เศรษฐกิจ เชิงสังคมและชุมชน และเชิงนโยบาย ตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญของแผนงานเชิงกลยุทธ์
ด้านทุนวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) พ.ศ. 2563 - 2565 วช. จงกำหนดกรอบการวิจยและ
ั
ึ
นวัตกรรมเพื่อการจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับปาล์มน้ำมันในแพลตฟอร์มที่ 2
ั
การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ท้าทายของสังคม โปรแกรมท 7 แก้ไขปัญหาท้าทายและยกระดบ
ี่
การพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการเกษตร (แผนงานวิจัยและนวัตกรรมดาน
้
การจัดการขยะ และของเสีย แผนงานวิจัยและนวัตกรรมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แผนงานวิจัย
และนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างมั่นคง) รวมถึง แพลตฟอร์มที่ 3 การวิจัยและสร้าง
นวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พร้อมทั้งยกระดับการพึ่งพาตนเองในระดับประเทศ
โปรแกรมที่ 10 ยกระดับความสามารถการแข่งขันและวางรากฐานทางเศรษฐกิจเพื่อการพึ่งพาตนเองใน
ระดับประเทศ (สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), 2564a)
และในปีงบประมาณ 2565 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. ซึ่งเป็น
้
ั
ุ
ี่
หน่วยงานภายใตการกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทเน้นการสนับสนุนทนวิจยท ี่
จะก่อให้เกิดประโยชน์เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศไดมีการกำหนดกรอบการรับข้อเสนอ
้
โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปาล์มน้ำมัน ประกอบด้วย 1. แผนงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาให้เกษตรกรในภาวะวิกฤต
โดยเน้นการพัฒนาระบบการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์ และการพัฒนาระบบการตลาดและ
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรรองรับภาวะวิกฤต 2. แผนงานวิจัยเกษตรแม่นยำสูงและเกษตรอัจฉริยะ
3. แผนงานวิจัยน้ำเพื่อการเกษตร เพิ่มศักยภาพและผลผลิตทางการเกษตร และ 4. แผนงานวิจัยด้านการเพิ่ม
ศักยภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจเพื่อให้มีผลผลิตสูง มีคุณภาพดี และมีต้นทุนการผลิตลดลง (สำนักงานพัฒนา
การวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.), 2564)
ั้
ทั้งนี้ จากการศึกษาและวิเคราะห์ทิศทาง เป้าหมาย และการขับเคลื่อนของหน่วยสนับสนุนทุน ทง
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. พบว่า
ทั้งสองหน่วยงานเน้นการสนับสนุนทุนวิจัยตามนโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม (อววน.) ในแพลตฟอร์มที่ 2 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ท้าทายของสังคม โปรแกรมที่
7 โจทย์ท้าทายด้านทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และการเกษตร เช่นเดียวกัน โดยเน้นการสนับสนุนให้เกิด
การแก้ปัญหาให้แก่เกษตรกรในภาวะวิกฤต ทั้งในระบบการผลิต โลจิสติกส์ และการตลาด สนับสนุนเกษตร
แม่นยำสูงและเกษตรอัจฉริยะ รวมถึงการจัดการทรัพยากรน้ำ ของเสีย และการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศ นอกจากนี้ วช. ยังมีความประสงค์รับข้อเสนอทุนวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มเติมจาก สวก. ใน
ั
แพลตฟอร์มที่ 3 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พร้อมทั้งยกระดบ
การพึ่งพาตนเองในระดับประเทศ โปรแกรมที่ 10 ยกระดับความสามารถการแข่งขันและวางรากฐานทาง
เศรษฐกิจเพื่อการพึ่งพาตนเองในระดับประเทศ เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใน
อุตสาหกรรมเป้าหมายทั้งในอุตสาหกรรม BCG และ Non-BCGตลอดจน การนำนวัตกรรมนั้น ๆ ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในด้านพาณิชย์และอุตสาหกรรม