Page 110 -
P. 110
ิ
์
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
88
1. การประสบกับภาวะวิกฤตด้านอาหาร ซึ่งเป็นผลมาจากการขาดแคลนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญด้าน
การวิจัยและขาดเงินทุนงบประมาณในการวิจัย
2. การประสบกับภาวะอากาศผันผวน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาภาวะโลกร้อน
• ภาวะโลกร้อน จากการสำรวจอุณหภูมิสูงสุดของโลกในรอบ 100 ปี พบว่า อุณหภูมิสูงสุดเพิมขึ้น
่
เฉลย 0.07 องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ขณะท ประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 0.026
ี่
ี่
องศา-เซลเซียสต่อทศวรรษ (พันนิภา และคณะ, 2556) ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรได้รับความ
เสียหายจากภาวะน้ำท่วมหรือภัยแล้ง
• การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ำ น รูปแบบของ น การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล และการเกิด
ภัยธรรมชาติที่มีความถี่และความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
• การระบาดของโรคและแมลงมีรูปแบบที่เปลี่ยนไป
• ดินบางแห่งอาจมีน้ำทะเลท่วมถึงและกลายเป็นดินเค็ม
ซึ่งปัญหาการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ค่อนข้างมีแนวโน้มชัดเจนว่าส่งผลกระทบต่อผลผลต
ิ
์
ปาล์มน้ำมัน และหากเป็นเช่นนั้นจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเกษตรกรไทยและอุตสาหกรรมปาลม
น้ำมันทั้งระบบที่ต้องพึ่งพาลมฟ้าอากาศและน้ำ นเป็นหลัก เนื่องจากปัจจัยของสภาพภูมิอากาศท ี่
จำเป็นต่อการเติบโตของปาล์มน้ำมัน ประกอบด้วย ปริมาณน้ำ น การกระจายตัวของ น ปริมาณแสง
ั
อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และลม โดยมีปริมาณน้ำ นและการกระจายตัวของ นเป็นปัจจยสำคญตอ
่
ั
การเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมัน เพราะหากมีปริมาณ นน้อยหรือแล้งติดต่อกันเกิน 2 เดือน จะทำให้
้
จำนวนทะลาย น้ำหนักทะลาย และเปอร์เซ็นต์น้ำมันลดลง จึงเป็นหน้าที่ของนักวิชาการที่จะตอง
้
ุ
พยายามปรับปรุงพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้มีคณภาพดี และเพิ่มลักษณะความทนร้อนและทนแล้งเข้าไปดวย
เพื่อให้ปาล์มน้ำมันสามารถให้ผลผลิตได้ดีแม้อากาศจะร้อนขึ้นก็ตาม (จรีวรรณ และคณะ, 2562)
3. โครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนเป็นสังคมผสูงอายุ เพราะระบบสาธารณสุขของโลกมีการพัฒนาขึ้นอย่างมาก
ู้
ทำให้อายุขัยเพิ่มมากขึ้นจากเดิมกลายมาเป็น 65.8 ปี ซึ่งจะมากหรือน้อยกว่านี้ขึ้นอยู่กับระดับความ
ั
เจริญและการพัฒนาของแต่ละประเทศ ในขณะที่อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยอยู่ที่ 72.5 ปี และที่สำคญ
คือ ประชากรสูงวัยที่อายุมากกว่า 60 ปี จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากว่าช่วงหนึ่งมาตรการ
คุมกำเนิดใช้ได้ผลดีมาก และการสาธารณสุขและการแพทย์มีการพัฒนาขึ้นทำให้อายุยืนมากขึ้น
ช่องว่างระหว่างวัยทำงานกับวัยผู้สูงอายุจึงมีมากขึ้น สัดส่วนประชากรที่สามารถทำงานได้จึงลดน้อยลง
ิ
เมื่อเทียบกับประชากรทั้งหมด สิ่งที่ตามมา คือ ความต้องการอาหารของโลกเพิ่มขึ้นโดยกำลังผลตหรือ
แรงงานกลับลดลง ดังนั้นโจทย์คือทำอย่างไรจึงจะทำให้มีผลผลิตสูงขึ้นในพื้นที่เท่าเดิมและใช้แรงงาน
น้อยลง
ซึ่งประเด็นเหล่านี้ คือ โจทย์ที่นักวิจัยต้องคิดและเตรียมการรับมือ ดังนั้น ทิศทางงานวิจัยจึงควรมุ่งวิจัยและ
พัฒนาพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้มีผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น มีความเหมาะสมกับสภาพอากาศและสภาพภูมิประเทศของ
พื้นที่เพาะปลูก รวมทั้งปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อให้ปาล์มน้ำมันไทยสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก รวมถึง
็
จะต้องมีการผลักดันให้มีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร โดยผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโอลิโอเคมิคอลจะเปนอีก