Page 103 -
P. 103
ิ
ิ
ื
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
81
6. การพั นาผลิต ัณ (Product Development)
์
6.1. การวิเคราะห์และพั นาคุณ าพ (Analytical and Quality Development) โดยการวิจัยถึง
ั
้
ั
ี่
เทคนิคการวิเคราะห์และการตรวจสอบปจจยดานคณภาพทสำคัญของผลิตภัณฑ์น้ำมันปาล์ม รวมถึง
ุ
การศึกษาปริมาณสารปนเปื้อนสูงสุดที่จะสามารถเกิดขึ้นไดในอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน
้
6.2. โ ชนาการ (Nutrition) เพื่อให้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโภชนาการของน้ำมันปาลม
์
ควบคู่กับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ โดยเน้นการให้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ
์
ั
์
คุณสมบัติทางโภชนาการหรือสารไฟโตนิวเทรียนทที่พบในน้ำมันปาลม หัวข้อการวิจัยที่สำคญ ไดแก่
้
โภชนาการลิพิด ออกซิเดชัน ไฟโตนิวเทรียนท์ และการศึกษาก่อนการทดสอบในมนุษย์
6.3. เทคโนโลยีโปรตีนและอาหาร (Protein and Food Technology) ให้ความสำคัญกับความ
หลากหลายและประโยชน์ของน้ำมันปาล์ม เช่น การใช้น้ำมันและไขมันในผลิตภัณฑ์อาหาร
่
การพัฒนาสูตรอาหารปราศจากไขมันทรานส์และอาหารสัตว์โดยใช้ชีวมวลจากปาล์มเป็นหลัก เชน
กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม
6.3.1. เทคโนโลยีน้ำมันและไขมันปาล์ม (Oils and Fats Technology) เน้นการประยุกต์ใช้และ
การเพิ่มประสิทธิภาพของปาล์มน้ำมันในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม ได้แก่ มาการีน เนย
ขาว ไอศครีม น้ำสลัด มายองเนส ไขมันทดแทนสัตว์ ช็อคโกแลต ผลิตภัณฑ์อิมัลชัน เบเกอรี่
ชีส ฯลฯ นอกจากนั้น ยังให้ความสำคัญกับการวิจัยในการเพิ่มคุณค่าและเสริมสร้างผลตภัณฑ์
ิ
อาหารและเครื่องดื่มที่มี Phytonutrients จากปาล์ม เช่น วิตามินอี (โทโคฟีรอลและโทโคฟีน)
และแคโรทีน
6.3.2. โปรตีนพลังงาน (Energy Protein) มุ่งเน้นไปทการใช้ผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันและ/หรือผล
ี่
พลอยได้ที่เหมาะสมในการปศุสัตว์ เพื่อลดการพึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบ รวมถึงการวิจย
ั
เกี่ยวกับการปรับปรุงคุณค่าทางโภชนาการของผลพลอยได้จากน้ำมันปาล์มให้เป็นส่วนผสม
อาหารเกรดพรีเมี่ยม
โดยการวิจัยและพัฒนาของคณะกรรมการน้ำมันปาล์มมาเลเซียมีวัตถุประสงคหลักเพื่อลดต้นทุนการผลิต
์
ี่
ต่อหน่วย ค้นหาประโยชน์เพิ่มเติมสำหรับน้ำมันปาล์มและน้ำมันเมล็ดในปาล์มทั้งทสามารถรับประทานไดและท ี่
้
้
ไม่สามารถรับประทานได สร้างการประกันคุณภาพสำหรับน้ำมันปาล์มในมาเลเซีย แนะนำเครื่องจักรในการเก็บ
เกี่ยวและขนส่ง เพื่อดำเนินการส่งเสริมการศกษาดานโภชนาการของน้ำมันปาลม และเพื่อสร้างภาพลกษณทด ี
์
์
ึ
้
ี่
ั
ให้กับน้ำมันปาล์มมาเลเซีย (Augustine S. H. Ong, 1987; MPOB, 2020)