Page 101 -
P. 101
ิ
ิ
ื
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
79
- เชื้อเพลิงชีวภาพยุคที่ 2 (Second Generation Biofuel) เป็นเชื้อเพลิงที่ผลิตมาจาก
เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนินจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร อาทิ เชื้อเพลิงแข็ง (แทง ่
ู
เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงเม็ด) เชื้อเพลิงเหลว (เอทานอล น้ำมันชีวภาพ เชื้อเพลิงชีวภาพขั้นสง)
และเชื้อเพลิงก๊าซ (ก๊าซชีวภาพ)
3.2.2. สิ่งแวดล้อม (Environment) อาทิ การวิจัยที่เกี่ยวกับความยั่งยืนของอุตสาหกรรมปาลม
์
ี่
น้ำมัน โดยเน้นทการประเมินวัฏจักรชีวิต (LCA) สำหรับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน การจัดทำ
คาร์บอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) ของอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน การวิจัยเกี่ยวกับ
์
์
วอเตอร์ฟุตพริ้นท (Water Footprint) ของอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน ทั้งการใช้น้ำทางตรง
และทางอ้อมในการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ ตลอดจน การวิจัยเพื่อกู้คืนน้ำมันที่เหลือจากการสกัด
ผลปาล์มที่โรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม
ั
3.2.3. เทคโนโลยีไบโอดีเซล (Biodiesel Technology) วิจยและพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพจากปาลม
์
และไบโอดีเซล ซึ่งรวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับการผลิตไบโอดีเซลจากปาลม
์
์
คุณลักษณะ และการประเมินทางเทคนิคของเชื้อเพลิงชีวภาพและไบโอดีเซลจากปาลม
ตลอดจน การพัฒนามาตรฐานของเชื้อเพลิงชีวภาพและไบโอดีเซลจากปาล์มของมาเลเซีย
3.3. เทคโนโลยีชีวมวล (Biomass Technology)
ั
ึ
3.3.1. ห่วงโซ่อุปทานและการพาณิชย์ (Supply Chain & Commercialization) เป็นการศกษาวิจย
เกี่ยวกับการรวบรวมและแปรรูปวัตถุดบ ศึกษาห่วงโซ่อุปทานและความพร้อมของชวมวลจาก
ิ
ี
ปาล์มน้ำมัน ซึ่งรวมถึงอายุของต้นปาล์ม การขนส่ง และปัจจัยการเก็บรักษา ลักษณะทาง
กายภาพ ทางกล และทางเคมี ของเส้นใยที่ได้จากชีวมวลปาล์มน้ำมัน การปรับสภาพ
ั
ี่
(Pretreatment) ของชีวมวล (เครื่องสับย่อยเคลื่อนท, เครื่องทำแห้ง etc.) ความสมพันธ์ของ
คุณสมบัติของเส้นใยต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ระดับไฮเอนด์ มาตรฐานเส้นใยสำหรับใชเฉพาะ
้
ในผลิตภัณฑ์ระดับไฮเอนด์ เช่น เยื่อกระดาษ ไม้ MDF (Medium Density Fiber Board)
และการประเมินวัฏจักรชีวิตในการผลิตผลิตภัณฑ์จากชีวมวล
3.3.2. การแปรรูปทางชีวภาพ (Bio-Processing) อาทิ การใช้และบำบัดน้ำเสียจากโรงงานสกัดน้ำมัน
ปาล์ม (POME) โดยมุ่งเน้นที่การได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีค่าจากการบำบัด POME ที่มีอยู่
การผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพจากชีวมวล (เช่น ถ่าน, ถ่านกัมมันต, ปุ๋ยหมักชีวภาพ, ปุ๋ยชีวภาพ
์
ฯลฯ ) การแปรรูปปาล์มน้ำมันหรือผลพลอยได้และชวมวล โดยวิธีการบำบัดทางชีวภาพ เชน
ี
่
การบำบัดด้วยจุลินทรีย์และเอนไซม์
3.3.3. สารเคมีชีวภาพ (Bio-Based Chemical) สารเคมีจากชีวมวลปาล์มน้ำมัน เช่น เซลลูโลส
เฮมิเซลลูโลส ลิกนิน และอนุพันธ์จากสารเคมีแต่ละชนิด รวมถึง การศึกษาโรงงานต้นแบบ
เกี่ยวกับการสกัดไฟโตสเตอรอล (เป็นสารพฤษเคมีชนิดหนึ่ง)