Page 96 -
P. 96
ื
ิ
ิ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
74
คณะกรรมการน้ำมันปาลมมาเลเซีย (Malaysian Palm Oil Board, MPOB) เป็นหน่วยงานรัฐบาลภายใต ้
์
กระทรวงอุตสาหกรรมและสินค้า (Ministry of Plantation Industries and Commodities, MPIC) ซึ่ง
รับหน้าที่ในการควบรวมกิจการของสถาบันวิจัยน้ำมันปาล์มแห่งมาเลเซีย (Palm Oil Research Institute of
Malaysia, PORIM) และสำนักงานการขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตน้ำมันปาล์ม (Palm Oil Registration
and Licensing Authority, PORLA) เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันมาเลเซียผ่านการวิจัย การพัฒนา
และการบริการที่เป็นเลิศ ทำให้บทบาทหน้าที่ของ MPOB ครอบคลุมครบวงจร ทั้งการทำหน้าที่วิจัย พัฒนา
ผลิตภัณฑ์ และการตลาด โดยสามารถทำหน้าที่อย่างอิสระ กิจกรรมของ MPOB คือ การวิจัยและพัฒนา (R&D)
ตั้งแต่การผลิตต้นน้ำจนถึงขั้นปลาย ซึ่งดำเนินการโดยหน่วยวิจัยต่าง ๆ ได้แก่ 1. ชีววิทยาและความยั่งยืน
(Biology and Sustainability) 2. เทคโนโลยีชีวภาพและการขยายพันธุ์ขั้นสูง (Advanced Biotechnology
and Breeding) 3. วิศวกรรมและการแปรรูป (Engineering & Processing) 4. การพัฒนาเกษตรกรรายย่อย
ิ
(Smallholder Development) 5. เทคโนโลยีโอลโอเคมิคอลขั้นสูง (Advanced Oleochemical Technology)
และ 6. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development) ซึ่งแต่ละหน่วยจะรับผดชอบดำเนินการและสงเสริม
ิ
่
กิจกรรมการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในหัวข้อที่แตกต่างกันไป (Malaysian
Palm Oil Board (MPOB), 2020) โดยสามารถสรุปเป็นกรอบการวิจัยของประเทศมาเลเซียที่ดำเนินการโดย
คณะกรรมการน้ำมันปาล์มมาเลเซียได้ ดังนี้
1. การวิจัยทางชีววิทยาและความยั่งยืน (Biology And Sustainability)
1.1. เทคโนโลยีสารสนเทศและ ูมิสารสนเทศ (Agronomy & Geospatial Technology) มุ่งเน้น
การวิจัยและพัฒนาเฉพาะด้านสำหรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและภูมิสารสนเทศ โดยให้
ความสำคัญกับการวิจัยในด้านพื้นดินเพาะปลูกสำหรับเกษตรกรรมและปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิต การใช ้
ประโยชน์จากชีวมวล การผลิตทะลายปาล์มดิบ (Fresh Fruit Bunch, FFB) ที่ยั่งยืน เทคโนโลยี
สารสนเทศเชิงพื้นที่ และการสำรวจระยะไกลเพื่อการเกษตรทแม่นยำ
ี่
1.1.1. เทคโนโลยีเกี่ยวกับดินและปุ๋ย (Agronomy & Fertilizer Technology) อาทิ การพัฒนา
เทคนิคการอนุรักษ์ดินและน้ำสำหรับพื้นที่ทางการเกษตรที่แตกต่างกัน การกำหนดผลผลต
ิ
ิ
ี่
ปาล์มน้ำมันและภาวะโภชนาการทสัมพันธ์กับจีโนไทป์ และองค์ประกอบของการเจริญเตบโต
ปฏิสัมพันธ์ของสารอาหารและความต้องการสารอาหารในการผลิตปาล์มน้ำมันโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในส่วนทเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของทะลายและอัตราการสกัดน้ำมัน เทคโนโลยี
ี่
การผลิตปุ๋ย ปริมาณของการรีไซเคิลสารอาหารและคาร์บอนอินทรีย์ในระบบนิเวศปาลม
์
น้ำมัน การพัฒนาเทคนิคการจัดการและใช้ประโยชน์ของเสียจากปาล์มน้ำมันในสวนโดยใช ้
ี
การประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment, LCA) และการปฏิบัติทางการเกษตรท่ด ี
(Good Agricultural Practices, GAP) การวิเคราะห์วงจรชีวิตต้นน้ำของการผลิตปาล์มน้ำมัน
ิ
และการพัฒนาแนวปฏิบัตด้านการจัดการที่ดีและแนวปฏิบัตทางการเกษตรที่ดีสำหรับปาล์ม
ิ
น้ำมัน