Page 93 -
P. 93
ิ
์
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
71
การใช้น้ำมันปาล์มเป็นพลังงานทดแทน (กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน
กระทรวงพาณิชย์, 2560b; กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์, 2559; ธนาคาร
กรุงศรีอยุธยา, 2563)
ื
2. ในปี พ.ศ. 2561 กระทรวงพลังงานได้มีการจัดทำแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลอก
พ.ศ. 2561 - 2580 (Alternative Energy Development Plan, AEDP2018) ขึ้น ประกอบกับมี
มาตรการปรับสมดุลน้ำมันปาล์มในประเทศ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรแก้ไขปัญหาราคาน้ำมันปาลม
์
่
ตกต่ำ โดยได้ออกแบบมาตรการชวยเหลือทั้งแบบเร่งด่วนด้วยการใช้น้ำมันปาล์มในการผลิตไฟฟ้า
และมาตรการแบบต่อเนื่องระยะยาวด้วยการใช้น้ำมันปาล์มดิบผสมในไบโอดีเซลเพิ่มขึ้น (สำนัก
้
ปลัดกระทรวงพลังงาน, 2561) และไดมีการปรับปรุงแผนพัฒนาพลังงานทดแทนฯ ใหม่ ในปี พ.ศ.
2562 เพื่อให้สอดรับแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าระยะยาว ปี 2561 - 2580 (PDP) มากขึ้น
(ธนาคารกรุงศรีอยุธยา, 2563)
3. ในปี พ.ศ. 2562 ภาครัฐมีมาตรการและโครงการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและ
น้ำมันปาล์ม ได้แก่ โครงการประกันรายได้แก่เกษตรกรสวนปาลมน้ำมัน (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา,
์
2563; ประชาชาติธุรกิจ, 2562) และกำหนดอัตราการสกัดน้ำมันขั้นต่ำที่โรงสกัดน้ำมันปาล์มต้อง
้
ผลิตได (ราชกิจจานุเบกษา, 2562)
4. ในปี พ.ศ. 2563 กระทรวงพลังงานมีมาตรการส่งเสริมการใช้น้ำมันไบโอดีเซล (B100) ในภาค
พลังงานโดยกำหนดให้ B10 เป็นน้ำมันดีเซลพื้นฐานของประเทศ (ข่าวสดออนไลน์, 2563; ราชกิจจา-
นุเบกษา, 2563; สุรีย์, 2563)
นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2561 ยังได้มีการจัดทำพระราชบัญญัติปาล์มน้ำมันและผลิตภัณฑ์จากปาล์มน้ำมัน
์
ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณได้พิจารณาเรื่องนี้มาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2563 คาดว่าจะ
แล้วเสร็จและสามารถเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรได้ ภายในปี 2564
อย่างไรก็ตาม มาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐอาจไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหาได้อย่างครอบคลุมทั้งระบบ จง ึ
นำไปสู่การเป็นประเด็นสำคัญของการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับด้านปาล์มน้ำมันที่เป็นที่ต้องการของประเทศ เพื่อให้
เกิดการพัฒนาของอุตสาหกรรมอย่างมั่นคงและยั่งยืน ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาความไม่สมดุลของการผลิตและ
ความผันผวนของราคาปาล์ม ตลอดจน แก้ไขปัญหารายได้ของเกษตรกรและภาคอุตสาหกรรมได้อย่างเป็น
รูปธรรม โดยไทยควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในเชิงโครงสร้างให้เกิดการเตบโตได ้
ิ
อย่างยั่งยืนในระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มประสทธิภาพในการผลิต หรือการต่อยอดไปสู่การสร้างมูลคาเพิ่ม
่
ิ
้
ให้ผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและลดความเสี่ยงจากความผันผวนดานราคาจากการขาย
ในรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรพื้นฐาน
2.5 กรอบการวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน ำมัน
์
การศึกษาวางกรอบการวิจัยเรื่องปาล์มน้ำมันจะเริ่มจาการทบทวนวิธีการวางกรอบการวิจัยด้านปาลม
น้ำมันของต่างประเทศ และของประเทศไทยในปัจจุบัน เพื่อนำมาใช้ในการกำหนดโครงสร้างการจัดหมวดหมู่