Page 92 -
P. 92

ิ
                               ิ
                                             ์
                                                                  ิ
                                          ิ
                            ื
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                         70
                                     ี
                8. วัตถุดิบปาล์มน ำมนมจำนวนน้อยและราคาสูงกว่าตลาดโลก เมื่อเปรียบเทยบกับประเทศอินโดนีเซีย
                                  ั
                                                                                 ี
                   และมาเลเซีย โดยประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย มีผลผลิตในปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 43, 21
                   และ 3 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะที่มีราคา 22.88 (760 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

                   2562) 21.51 (2,920 ริงกิตต่อตัน ณ วันที่ 23 ธันวาคม 2562) และ 35.50 บาทต่อกิโลกรัม (ราคา ณ
                                                                                                      ี่
                   วันที่ 27 ธันวาคม 2562) ตามลำดับ ทำให้ขาดแรงจูงใจในการลงทุนเพื่อสร้างอุตสาหกรรมตอเนื่องทมี
                                                                                               ่
                   มูลค่าสูง

                9. ขาดการสร้างเสถียร าพด้านราคาของปาล์มน ำมัน จากนโยบายรัฐบาลไทยที่ไม่แน่นอน บางครั้งห้าม
                   ส่งออก บางครั้งส่งออกได้ ขาดการส่งสัญญาณที่ชัดเจน ตลอดจน การดูแลไม่เป็นไปตามกลไกตลาด ทำ

                   ให้นักลงทุนและผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันขาดความมั่นใจ
                10. การลักลอบขนน ำมันปาล์ม ทำให้มีการทะลักเข้ามาของน้ำมันปาล์มจากประเทศเพื่อนบ้าน เชน
                                                                                                      ่
                   มาเลเซีย พม่า และกัมพูชา เนื่องจากระดับราคาน้ำมันปาล์มภายในประเทศไทยสูงขึ้น ขณะที่ราคา

                   ตลาดโลกตำกว่า ส่งผลให้มีการลกลอบขนน้ำมันปาล์มที่มีราคาถูกเข้ามาในราชอาณาจกร ทำให้สมดล
                                                                                                      ุ
                                                                                          ั
                            ่
                                              ั
                   ด้านราคาในประเทศเสียหาย
                11. ขาดข้อมูลพื นฐานด้านปาล์มน ำมันที่เป นปัจจุบัน ขาดหน่วยงานหลักที่ดูแลจัดการปาล์มน้ำมันและ
                   น้ำมันปาล์มอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่อุตสาหกรรมต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ทำให้การออกมาตรการ
                   รัฐบางส่วนไม่สามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุดในระยะยาว

                นอกจากนี้ ยังมีสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันเป็นระยะ ๆ อีกมาก เชน
                                                                                                     ่
            ปัญหาสถานการณ์ภัยแล้ง ที่ทำให้ไทยประสบกับการมีราคาเฉลี่ยของน้ำมันปาล์มดิบที่สูงกว่าตลาดโลกถึง

            กิโลกรัมละ 11 - 12 บาท ในปี พ.ศ. 2559 หรือปัญหาอุปทานส่วนเกินเนื่องจากผลผลิตน้ำมันปาล์มเพิ่มขึ้น

            อย่างต่อเนื่องในช่วงปี พ.ศ. 2560 - 2562 กดดันให้ราคาผลปาล์มสดปรับลดลงมาก รวมถึง ในปี พ.ศ. 2563 ท ี่
            ทั่วโลกเผชิญกับสถานการณ์วิกฤตการแพร่ระบาดของโควิด - 19 ส่งผลให้พฤติกรรมทางการค้าและ

            การประกอบธุรกิจเปลี่ยนไปเป็นอย่างมาก เชื่อมโยงถึงความต้องการใช้น้ำมันปาล์มด้วยเช่นกัน เนื่องจาก
            เกี่ยวข้องทั้งกับอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมพลังงาน (กฤษดา, 2563; ฐานเศรษฐกิจ, 2563; ธนาคาร

            กรุงศรีอยุธยา, 2563)

            2.4.5 มาตรการให้ความช่วยเหลือที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมปาล์มน ำมันของรัฐบาล


                จากปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ภาครัฐจึงได้มีการออกมาตรการตาง ๆ เพื่อบรรเทาความเดอดร้อนของ
                                                                        ่
                                                                                             ื
                                                                                 ี่
                                ่
                                        ู้
            เกษตรกรและให้ความชวยเหลือผประกอบการ โดยมีมาตรการหรือโครงการสำคัญทเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม
            ปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม ปี พ.ศ. 2560 - 2563 ได้แก่
                 1.  ในปี พ.ศ. 2560 ภาครัฐได้มีการจัดทำแผนปฏิรูปปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มทั้งระบบปี 2560 -
                     2579 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่

                     1. การขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันควบคู่กับการเพิ่มผลผลตต่อไร่และปรับปรุงประสทธิภาพการผลต
                                                                                                      ิ
                                                                    ิ
                                                                                         ิ
                     และการแปรรูป และ2. เพิ่มอุปสงค์ในประเทศ โดยเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มเพื่อการบริโภคและเพิ่ม
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97