Page 95 -
P. 95
ิ
ิ
ิ
ื
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
73
การสนับสนุนจากภาครัฐ โดยในแต่ละประเทศจะให้ความสำคัญกับการลงทุนทางด้านการวิจัยที่แตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับเป้าหมายของการพัฒนาในแต่ละประเทศ
จากการพิจารณาแนวทางการจัดกลุ่มประเภทของงานวิจัยในกลุ่มประเทศตาง ๆ ทั้งองค์กรระดับโลก หรือ
่
สถาบันการวิจัยระดับประเทศของประเทศนั้น ๆ พบว่า ประเด็นปัญหาของงานวิจัยจะมีความคล้ายคลึงกัน โดย
จะมีการปรับเปลี่ยนไปตามความต้องการที่เปลี่ยนไป แตรายละเอียดการจัดกลุ่มงานวิจัยในแต่ละสถาบัน
่
อาจจะมีความแตกต่างกันออกไป (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ง.) ทั้งนี้ ในการศึกษาโครงการนี้จะมุ่งเน้นไป
ทการศึกษากรอบการวิจัยปาล์มน้ำมันของ ประเทศมาเลเซีย และประเทศอินโดนีเซียเป็นหลัก เนื่องจากเป็น
ี่
ประเทศผู้ผลิตปาล์มน้ำมันที่สำคัญ และมีความก้าวหน้าทางด้านงานวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันค่อนข้างมาก
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
2.5.1.1 ประเทศมาเลเ ีย
ประเทศมาเลเซียมีอุตสาหกรรมหลัก คือ อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและยางพาราโดยในปัจจุบัน มาเลเซีย
เป็น ประเทศ ผู้ผลิตน้ำมันปาล์มดิบใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก (19.7 ล้านตัน) รองจากอินโดนีเซีย (United
States Department of Agriculture, 2021) โดยเริ่มแรก มาเลเซียปลูกปาล์มน้ำมันเพื่อเป็นไม้ประดับ ต่อมา
จึงได้มีการเปลี่ยนการปลูกปาล์มน้ำมันเป็นเชิงพาณิชย์เป็นประเทศแรกของโลก และขยายเป็นอุตสาหกรรม
ปาล์มน้ำมันอย่างจริงจังในช่วงปี พ.ศ. 2500 เพื่อให้สอดคล้องกับโครงการความหลากหลายทางเกษตรกรรม
(Program of Agricultural Diversification) ของมาเลเซีย และเพื่อเพิ่มรายได้อื่นนอกเหนือจากการส่งออก
ยางพาราซึ่งเป็นสินค้าส่งออกหลักของมาเลเซียในขณะนั้น โดยมาเลเซียมีทั้งไร่ปาล์มและโรงงานน้ำมันปาล์ม
ใหญ่ที่สุดในโลก กระทั่งพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันไปสอุตสาหกรรมโอลโอเคมิคอล (Oleochemical) ใน
ิ
ู่
ปี พ.ศ. 2543 และทำให้อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันกลายเป็นอุตสาหกรรมหลักของมาเลเซียมาจนถึงปัจจุบัน
้
(ศูนย์ศึกษาการคาระหว่างประเทศ มหาวิทยาลยหอการคาไทย, 2556; หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ, 2556; อัทธ์,
้
ั
2562a)
MPOB เป็นหน่วยงานรัฐซึ่งรับหน้าที่ในการควบรวมกิจการของสถาบันวิจัยน้ ามันปาล์มแห่งมาเลเซีย (PORIM) และส านักงานการขึ้นทะเบียน
และออกใบอนุญาตน้ ามันปาล์ม (PORLA) เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามันมาเลเซียผ่านการวิจัย การพัฒนา และการบริการที่เป็นเลิศ
บทบาทหน้าที่ เงินทุน กิจกรรมของ MPOB คือ การวิจัยและพัฒนา (R&D) ตั้งแต่การ
ผลิตต้นน้ าจนถึงขั้นปลาย ซึ่งด าเนินการโดยหน่วยวิจัยต่าง ๆ
• ด าเนินการและส่งเสริมกิจกรรมการ MPOB ได้รับเงินทุนส่วนใหญ่มาจาก าษี 1 การวิจัยทางชีววิทยาและความยั่งยืน
วิจัยและพั นา ที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมส าหรับน้ ามันปาล์มและ (Biology And Sustainability)
อุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน น้ ามันเมล็ดในปาล์มทุก ๆ ตัน นอกจากนี้ 2 เทคโนโลยีชีว าพและการขยายพันธุ์ขั นสูง
• ส่งเสริมและด าเนินการถ่ายโอน ยังได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก (Advanced Biotechnology and Breeding)
เทคโนโลยีและผลการวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ รัฐบาลให้กับกองทุนเพื่อการพัฒนา 3 งานวิจัยทางวิศวกรรมและการแปรรูป
• เป็นแหล่งข้อมูลของอุตสาหกรรมปาล์ม โครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติภายใต้ (Engineering & Processing)
การวิจัยเพื่อพั นาเกษตรกรรายย่อย
น้ ามัน รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูล โครงการเพิ่มความเข้มข้นของการวิจัยใน 4 (Smallholder Development)
• สร้างความร่วมมือในการพัฒนาและ พื้นที่ส าคัญ (Intensification of 5 การวิจัยเทคโนโลยีโอลิโอเคมิคอลขั นสูง
การใช้เทคโนโลยีระหว่างภาครัฐและ Research in Priority Areas, IRPA) (Advanced Oleochemical Technology)
เอกชน 6 การพั นาผลิต ัณ ์
(Product Development)
รูปที่ 2-22 คณะกรรมการน้ำมันปาล์มมาเลเซีย (MPOB)
ที่มา: Malaysian Palm Oil Board (MPOB) (2020)