Page 8 -
P. 8

ิ
                                                                                ิ
                                 ิ
                              ื
                                               ์
                                                                   ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                          บทคัดยอ



                           แมวาภาคเกษตรของไทยจะมีความสำคัญในดานตางๆ เปนอยางมาก แตเกษตรกรไทยโดยสวนใหญ
                    ยังมีรายไดนอย นอกจากนี้ปญหาสำคัญประการหนึ่งที่เกษตรกรไทยตองเผชิญคือความเสี่ยงตอเหตุการณ

                    ไมปกติตางๆ ในขณะที่การศึกษาที่เกี่ยวของกับความเสี่ยงที่เกษตรกรเผชิญยังมีไมมากนัก งานวิจัยฉบับนี้มี

                    วัตถุประสงคหลักในการศึกษามุมมองของเกษตรกรที่มีตอความเสี่ยงที่ตนเองเผชิญ การเตรียมความพรอมใน
                    การเผชิญหนา การปรับตัว ปญหาและอุปสรรค และปจจัยที่สงผลตอการปรับตัวและการฟนตัวของเกษตรกร

                    งานวิจัยนี้ศึกษาเกษตรกรผูปลูกมะมวงและทุเรียนเปนหลัก เนื่องจากเปนไมผลที่ผลผลิตออกสูตลาดในชวง

                    มาตรการล็อคดาวนภายใตการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทั้งกลุมมะมวงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุม
                    ทุเรียนภาคตะวันออกและภาคใต โดยรวบรวมขอมูลทั้งจากขอมูลทุติยภูมิ การสัมภาษณเชิงลึกเกษตรกรผูนำ

                    และการสำรวจขอมูลเกษตรกร 180 ครัวเรือน และนำขอมูลที่ไดมาวิเคราะหขอมูลทั้งการสรุปขอมูลแบบงาย

                    การเปรียบเทียบทางสถิติ และการหาความสัมพันธดวยเครื่องมือทางเศรษฐมิติ

                           ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา เกษตรกรเผชิญความเสี่ยงและมีทัศนคติหรือความกังวลที่แตกตางกันไป

                    ในภาพรวมเกษตรกรทั้งที่ปลูกมะมวงและทุเรียนจะมีความกังวลกับความเสี่ยงดานภัยธรรมชาติที่สงผลใหผล
                    ผลิตเสียหาย เชน โรคพืชโรคแมลง ลมแรง นอกจากนี้เกษตรกรบางสวนยังมีความกังวลในดานการตลาด เชน

                    ราคาตกต่ำผันผวนและไมมีพอคารับซื้อ (มะมวง) และการทำผลผลิตคุณภาพต่ำออกสูตลาด (ทุเรียน) เพื่อ

                    หลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น เกษตรกรใชความพยายามอยางมากในการดูแลรักษาชวงติดดอกออกผล
                    รวมทั้งใชปุยและสารเคมีมาก สวนหนึ่งพยายามทำผลผลิตนอกฤดูกาลหรือการขายผลผลิตในตลาด

                    ตางประเทศเพอหลีกเลี่ยงความผันผวนของราคา และเมื่อเกิดเหตุการณไมปกติขึ้น ปจจัยสวนตัวของเกษตรกร
                               ื่
                                                                             
                    (การศึกษา ประสบการณ) และปจจัยดานการตลาด (การกระจายชองทางการขาย และการขายตลาด
                    ตางประเทศ) จะมีสวนชวยในการฟนตัวของเกษตรกร นอกจากนี้ ประเด็นความเสี่ยงในอนาคตที่นาสนใจที่

                    เกษตรกรอาจจะยังไมตระหนักมากนักไดแก ความเสี่ยงที่มะมวงน้ำดอกไมจะเผชิญจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทำให

                    ผลผลิตอาจจะเสียหายงายขึ้น และความเสี่ยงจากการทุมตลาดและผูกขาดของลงทุเรียนที่อาจจะเกิดขึ้นหาก
                    ไมมีการควบคุมดูแล


                           งานวิจัยนี้เสนอขอเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวม ใหรัฐปรับปรุงและพัฒนากลไกการประกันภย
                                                                                                        ั
                    พืชผลและการเยียวยาความเสียหายจากภัยธรรมชาติใหเหมาะสมกับเกษตรกรไมผลมากขึ้น พัฒนาและ

                    ถายทอดเทคนิคในการดูแลผลผลิตใหกับเกษตรกรในลักษณะเชิงรุก สงเสริมใหเกษตรกรเขาถึงเงินลงทุนเพื่อ

                    พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน สงเสริมใหมีการแขงขันของผูรับซื้อในพื้นที่และปองกันการทุมตลาดของผูรวบรวม
                    รายใหญ ขยายตลาดตางประเทศและสงเสริมเกษตรกรใหพัฒนาคุณภาพสินคาใหไดมาตรฐาน


                    คำสำคัญ: ความเสี่ยง การเตรียมพรอมรับมือ การปรับตัว เหตุการณไมปกติ การฟนตัว





                                                              ฉ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13