Page 5 -
P. 5

ิ
                                 ิ
                              ื
                                               ์
                                           ิ
                                                                   ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                           3) ศึกษาการปรับตัวของเกษตรกรหลังจากเหตุการณการระบาดของไวรัสโควิด-19 โดยวิเคราะห

                    พฤติกรรม การตัดสินใจ ปญหาและอุปสรรค และปจจัยที่สงผลตอความสำเร็จในการปรับตัวของเกษตรกร

                    และการฟนตัวของเกษตรกร

                           งานวิจัยนี้ศึกษาเกษตรกรผูปลูกมะมวงและทุเรียนเปนหลัก เนื่องจากเปนไมผลที่ผลผลิตออกสูตลาด

                    ในชวงการล็อคดาวนภายใตการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 โดยแบงเปนเกษตรกรผูปลูกมะมวงในภาค
                    ตะวันออกเฉียงเหนือ (มะมวงน้ำดอกไมสีทอง จ.นครราชสีมา และมะมวงมหาชนก จ.กาฬสินธุ) และเกษตรกร

                    ผูปลูกทุเรียนในภาคตะวันออก (จ.ระยอง จ.จันทบุรี และ จ.ตราด) และภาคใต (จ.นครศรีธรรมราช) โดย

                    รวบรวมขอมูลทั้งจากระดับทุติยภูมิที่เกี่ยวของการผลิตและการขายมะมวงและทุเรียน การสัมภาษณเชิงลึก
                    เกษตรกรที่มีบทบาทเปนผูนำในแตละกลุม และการสำรวจขอมูลเกษตรกรรายครัวเรือนทั้งหมดจำนวน 180

                    ครัวเรือน แลวนำขอมูลที่ไดมาวิเคราะหทั้งการสรุปขอมูลแบบงาย (Descriptive statistic analysis) การ

                    เปรียบเทียบทางสถิติ และการหาความสัมพันธของตัวแปรดวยเครื่องมือทางเศรษฐมิติ (Econometrics)

                           ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา เกษตรกรในกลุมตางๆ เผชิญความเสี่ยงและมีทัศนคติหรือความกังวลที่

                                                                              ั
                    แตกตางกันไป ในภาพรวมเกษตรกรทั้งที่ปลูกมะมวงและทุเรียนจะมีความกงวลกับความเสี่ยงดานภัยธรรมชาติ
                    ที่สงผลใหผลผลิตเสียหาย เชน โรคพืชโรคแมลง ลมฝนลมพายุ มากกวาความเสี่ยงดานอื่นอยางชัดเจน

                    เนื่องจากเปนปญหาที่เคยเผชิญมาในอดีต ในขณะที่เกษตรกรบางสวนยังมีความกังวลในดานการตลาด เชน

                    เกษตรกรผูปลูกมะมวงจะมีความกังวลตอความเสี่ยงราคาตกต่ำผันผวนและไมมีพอคารับซื้อ ในขณะที่
                    เกษตรกรผูปลูกทุเรียนมีความกงวลตอการที่เกษตรกรบางสวนทำผลผลิตคุณภาพต่ำออกสูตลาดซึ่งจะสงผลตอ
                                            ั
                    การรับซื้อในระยะยาว จากการศึกษาพบวาปจจัยที่สงผลตอความกังวลของเกษตรกรผูปลูกมะมวงไดแก

                    สัดสวนพื้นที่ที่ปลูกพืชหลักตอพื้นที่ทั้งหมด (+) และสัดสวนการขายในชองทางหลักตอการขายทั้งหมด (-)
                    ในขณะที่ของผูปลูกทุเรียน ไดแก ประสบการณ (-) และสัดสวนของการขายผลผลิตไปตลาดตางประเทศ (-)


                           ในสวนของการปรับตัวเตรียมรับมือกับความเสี่ยงพบวา เกษตรกรพยายามที่จะลดปญหาที่เกิดจาก
                    การผลิตโดยใชความพยายามอยางมากในการดูแลรักษาชวงติดดอกออกผล รวมทั้งใชปุยและสารเคมีมาก

                    สวนหนึ่งพยายามทำผลผลิตนอกฤดูกาลหรือการขายผลผลิตในตลาดตางประเทศเพื่อหลีกเลี่ยงความผันผวน

                    ของราคา อยางไรก็ตาม เกษตรกรไมไดสนใจที่จะเขารวมโครงการประกันพืชผลและไมไดรับประโยชน
                    จากโครงการเยียวยาความเสียหายจากภัยธรรมชาติของรัฐเนื่องจากเงื่อนไขไมเหมาะสม เกษตรกรมองวา

                    การปรับตัวหลายอยางมีประโยชนมากแตทำยาก เชน การผลิตนอกฤดูกาล การขายตางประเทศ สวนใหญ

                    จึงเลือกวิธีที่ทำไดไมยาก เชน การใชสารเคมี

                           เมื่อเกิดเหตุการณไมปกติขึ้น ปจจัยที่มีผลตอการกำหนดการฟนตัวของเกษตรกรผูปลูกมะมวงไดแก  

                    การศึกษา (+) และสัดสวนของการขายในชองทางหลัก (-) ซึ่งเปนที่นาสังเกตวาการขายผลผลิตผานชองทางหลัก






                                                              ค
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10