Page 4 -
P. 4
์
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
บทสรุปสำหรับผูบริหาร
รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัย
1) ชื่อโครงการ
ความเสี่ยง การเตรียมพรอมรับมือ และการปรับตัวตอเหตุการณไมปกติของเกษตรกรไทย
Thai farmer’s risk, preparedness, and adaptation to unexpected shocks
2) ชื่อคณะผูวิจัย
รศ.ดร. สิทธิเดช พงศกิจวรสิน คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
Sittidaj.p@chula.ac.th / 081 697 1389
รศ.ดร. เขมรัฐ เถลิงศร ี คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
Khemarat.t@chula.ac.th / 089 601 9222
นายพชรพัชร ถวิลนพนันท นักวิจัย
Parcharapat@gmail.com / 086 980 1956
3) งบประมาณและระยะเวลาทำวิจัย
- ไดรับงบประมาณ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบประมาณที่ไดรับ 1,010,000 บาท
- ระยะเวลาทำวิจัย ตั้งแต เดือน 15 กันยายน 2563 ถึง เดือน 14 กุมภาพันธ 2565 (ไดรับการอนุมัติขยาย
สัญญา 5 เดือน เนื่องจากการระบาดอยางรุนแรงของไวรัสโควิด-19 ทำใหไมสามารถลงพื้นที่เก็บขอมูลได)
สรุปโครงการวิจัย
ภาคเกษตรกรรมของไทยเปนภาคเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ทั้งในแงรายได การจางงาน ความมั่นคง
ี
ทางอาหาร อยางไรก็ตาม เกษตรกรสวนใหญในประเทศยังมีรายไดนอย นอกจากนี้ ปญหาหลักที่สำคัญอก
ประการหนึ่งของอาชีพเกษตรกรรมคือการเผชิญกับความเสี่ยงจากหลายแหลง เชน จากภัยธรรมชาติที่สงผล
ตอผลผลิต ความผันผวนของราคา ความไมแนนอนในการขายสินคา รวมทั้งการระบาดของไวรัสโควิด-19
ที่สงผลอยางรวดเร็วรุนแรงกับเกษตรกรหลายกลุม ในโลกที่มีความผันผวนในดานตางๆ มากขึ้น เกษตรกรจะ
เผชิญหนากับความเสี่ยงในดานตางๆ ที่เพิ่มขึ้นและรุนแรงขึ้นมาก การศึกษาวิจัยชิ้นนี้ตองการที่จะศึกษาและ
เขาใจมุมมองของเกษตรกรที่มีตอความเสี่ยงในดานตางๆ การเตรียมความพรอม ความสามารถและอุปสรรคใน
การปรับตัวเมื่อเกิดความเสี่ยง โดยมีวัตถุประสงคหลักของการศึกษาคือ
1) ศึกษามุมมองของเกษตรกรที่มีตอความเสี่ยงและเหตุการณไมปกติที่ตนเองเผชิญ
2) ศึกษาการปองกันหรือการเตรียมความพรอมในการเผชิญหนาเหตุการณไมปกติ (กอนเกิดเหตุ) โดย
วิเคราะหปจจัยที่สงผลตอการเตรียมความพรอมที่แตกตางกันระหวางเกษตรกร
ข