Page 6 -
P. 6

ิ
                                 ิ
                              ื
                                               ์
                                                                   ิ
                                           ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                               
                    ในสัดสวนสูงๆ กระจายชองทางนอยๆ แมวาจะทำใหเกษตรกรมีความกังวลนอย (คิดวาขายได) แตหากมี
                    เหตุการณไมปกติ อาจจะทำใหเกษตรกรฟนตัวไดชา เนื่องจากมีทางเลือกนอย สวนปจจัยที่มีผลตอการกำหนด

                    การฟนตัวของเกษตรกรผูปลูกทุเรียน ไดแก ประสบการณ (+) และสัดสวนของการขายผลผลิตไปตลาด
                    ตางประเทศ (+) นั่นคือเกษตรกรที่มีประสบการณมาก มีความเชี่ยวชาญ และขายผลผลิตในตลาดตางประเทศ

                    มากมีแนวโนมจะฟนตัวจากเหตุการณไมปกติไดดีกวา

                           ประเด็นที่นาสนใจอีกประเด็นหนึ่งคือจากการสำรวจและการสัมภาษณพบวา ยังมีความเสี่ยง

                    ในอนาคตที่สำคัญและอาจจะเกิดขึ้นแตเกษตรกรรายยอยอาจจะยังไมตระหนักมากนัก ไดแก ความเสี่ยง

                    ที่มะมวงน้ำดอกไมจะเผชิญจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทำใหผลผลิตอาจจะเสียหายงายขึ้น ซึ่งเกษตรกรสวนหนึ่ง
                    เริ่มมองถึงการกระจายไปปลูกพันธุอื่นใหมากขึ้น และความเสี่ยงจากการทุมตลาดและผูกขาดของลงทุเรียน

                    ที่อาจจะเกิดขึ้นหากไมมีการควบคุมดูแล ซึ่งความเสี่ยงกลุมนี้ที่เกษตรกรอาจจะมีการรับรูไมมาก ควรตองเปน

                    หนาที่ของภาครัฐหรือภาควิชาการในการใหความรูหรือสรางกลไกเครื่องมือในการจัดการปญหาที่มีความเสี่ยง
                    จะเกิดขึ้นได


                           จากผลการศึกษาขางตน งานวิจัยนี้เสนอขอเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวม ประกอบดวย
                    (1) รัฐควรปรับปรุงและพัฒนากลไกการประกันภัยพืชผลและการเยียวยาความเสียหายจากภัยธรรมชาติให

                    เหมาะสมกับเกษตรกรไมผลมากขึ้น และสรางความตระหนักรูถึงความสำคัญของระบบประกันภัยพืชผลในอนาคต

                                                             ั
                    (2) พัฒนาและถายทอดเทคนิคในการดูแลผลผลิตใหกบเกษตรกรในลักษณะเชิงรุก โดยเฉพาะปญหาที่เกิดจาก
                    โรคพืชและแมลง ลมแรง และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (3) สงเสริมให

                    เกษตรกรเขาถึงเงินลงทุนเพอพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน การขุดสระเพื่อเกบน้ำ หรือการทำระบบน้ำ เพื่อให
                                         ื่
                                                                               ็
                    เกษตรกรมีทางเลือกในการทำผลผลิตนอกฤดูกาลหรือคุณภาพสูงเพิ่มมากขึ้น (4) สงเสริมใหมีการแขงขันของ
                    ผูรับซื้อในพื้นที่และปองกันการทุมตลาดของผูรวบรวมรายใหญ  ในขณะเดียวกัน ภาครัฐก็ควรสงเสริมการ

                    บริหารจัดการ และใชกฎระเบียบที่สงเสริมการแขงขันที่เปนธรรมและมีประสิทธิภาพในตลาดผูรับซื้อหรือ

                    พอคารวบรวม ในชวงสถานการณโควิดชี้ใหเห็นวาความเขมแข็งในการบริหารจัดการผลผลิตของพอคาเปน
                    กลไกสำคัญประการหนึ่งที่อาจจะมีประโยชนตอเกษตรกรและเศรษฐกิจในภาพรวมภายใตสถานการณไมปกติ

                    และ (5) ขยายตลาดตางประเทศและสงเสริมเกษตรกรใหพัฒนาคุณภาพสินคาใหไดมาตรฐาน

                           นอกจากนี้ ยังมีขอเสนอแนะรายผลผลิต ไดแก (1) สงเสริมใหเกษตรกรที่ปลูกเฉพาะมะมวงน้ำดอกไม

                    สีทองกระจายความหลากหลายของพันธุที่ปลูก โดยเฉพาะพันธุที่ตองการการลงทุนและการดูแลรักษา

                    ไมเขมขนเทาและมีความตองการในตลาดมาก เชน พันธุมหาชนก เขียวเสวย โชคอนันต (2) รัฐควรให
                    การสนับสนุนในดานองคความรู และเทคนิคและองคประกอบพื้นฐานที่จำเปนรวมถึงการสนับสนุนชวยเหลือ

                    เกษตรกรผูปลูกมะมวง ในการวางแผนการกระจายผลผลิตนอกฤดู สงเสริมกลุมเกษตรกรผูปลูกมะมวงให

                    มีความเขมแข็งมากขึ้น ใหสามารถทำการแปรรูปผลผลิตที่เหมาะกับความตองการตลาดตางประเทศ รวมถึง




                                                              ง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11