Page 45 -
P. 45
์
ิ
ิ
ิ
ุ
ื
ิ
ั
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
4. การแปลชื่อเฉพาะจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยโดยการ
ถอดเสียง หากพจารณาเผินๆ นั้นเหมือนไม่ยากเพราะไทยร่ ารวย
ิ
เรื่องเสียง แต่ในการออกเสียงจริงต้องค านึงถึงผู้ฟงให้มาก หากออก
ั
เสียงชื่อคนจีนเป็นภาษาจีนตามส าเนียงจีนมาตรฐาน ทั้งพยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์ ผสมไปในบทแปลภาษาไทย ตัวอย่างเช่น 张亚权 、
่
顾雄伟、李晓华 จะพบว่าผู้ฟงส่วนใหญที่ไม่รู้ภาษาจีนจะไม่สามารถ
ั
ี
จ าชื่อคนและไม่สามารถออกเสียงตามได้ ในกรณเช่นนี้อาจต้องปรับ
การออกเสียงให้เป็นเสียงที่ง่ายลง เช่น จางย่าฉวน กู้สงเหว่ย หลีเสี่ยวหัว
และปรับโทนเสียงให้เป็นไทยมากขึ้นซึ่งต้องยอมรับว่าคลาดเคลื่อน
จากภาษาจีนพอสมควร แต่ท าให้การสื่อสารง่ายลงมาก
5. การแปลชื่อเฉพาะที่เป็นชื่อคนมีชื่อเสียงต้องค้นควาให้มาก
้
เนื่องจากคนไทยเชื้อสายจีนจ านวนมากมีชื่อภาษาจีนและเป็นที่รู้จัก
ของชาวจีนอยู่แล้ว อาทิ ธนินท์ เจียรวนนท์ มีชื่อจีนว่า 谢国民 หาก
แปลด้วยการถอดเสียง จะไม่สามารถท าให้ผู้ฟงชาวจีนเข้าใจได้ ส่วน
ั
คนจีนที่เป็นที่รู้จักของคนไทย บางครั้งก็ไม่ได้รู้จักในชื่อภาษา
จีนกลาง เป็น 马云 คนไทยรู้จักในนาม แจ็ค หม่า หากถอดเสียง
ั
เป็น หม่าอวิ๋น หรือแม้จะปรับให้คนไทยฟงง่ายเป็น หม่าหยุน ก็ยัง
ไม่เป็นที่คุ้นหูของผู้ฟงอยู่ดี ในกรณนี้ต้องเลือกใช้ชื่อที่เป็นที่รู้จัก
ั
ี
คุ้นเคยของผู้ฟัง
อนึ่ง เสียงวรรณยุกต์เป็นปัญหาพนฐานที่พบมากทั้งในงานแปล
ื้
และงานล่าม คนไทยจ านวนมากรวมถึงผู้เรียนภาษาจีนเป็นวิชาเอก
ละเลยภาษาไทย ท าให้ผันเสียงวรรณยุกต์ไม่ถูกต้อง มีความสับสน
36 บทที่ 3 การแปลชื่อเฉพาะ