Page 44 -
P. 44
ิ
ั
ิ
ิ
ุ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
์
ภาษาจีนเพื่อการล่ามในธุรกิจ
3. ล่ามต้องค านึงถึงความจ าเป็นในการใช้งานด้วยเสมอ ต้อง
ิ
ื่
พจารณาว่าการแปลนั้นแปลเพอใช้ในงานใด จะยึดหลักเกณฑ์ใด
ตายตัวมิได้ ตัวอย่างเช่น ในการเจรจาธุรกิจ ผู้พดชาวไทยพดถึงชื่อ
ู
ู
สถานที่ในกรุงเทพให้ชาวจีนฟง เป็นสถานที่ที่ไม่ได้ใช้แพร่หลายใน
ั
ภาษาจีน ถ้าล่ามแปลเป็นภาษาจีนแบบค านึงถึงการออกเสียงใน
ภาษาจีน แม้จะจ าง่าย แต่ก็อาจท าให้ชาวจีนไปสถานที่นั้นไม่ถูก เช่น
ู
ผู้พดบอกพกัดบริษัทของตนว่าตั้งอยู่ที่เกษตร-นวมินทร์ หมายถึง
ิ
ถนนประเสริฐมนูกิจ ซึ่งเริ่มจากจุดตัดระหว่างถนนพหลโยธินกับถนน
งามวงศ์วานที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มุ่งไปตัดกับถนนนวมินทร์
ก่อนจะไปสิ้นสุดที่ถนนคู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน ค าว่า “เกษตร”
ในที่นี้หมายถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งแปลด้วยวิธีแปล
ความหมายว่า 农业大学 ส่วน “นวมินทร์” เป็นชื่อของถนนนวมินทร์
ซึ่งแปลด้วยวิธีทับศัพท์ว่า 纳瓦民路 หากล่ามแปลเป็น 农业纳瓦民 คือ
ผสมการแปลความหมายกับการทับศัพท์ ผู้ฟงชาวจีนน่าจะประสบ
ั
ปัญหาในการเดินทางแน่ๆ หากแปลใหม่หากแปลด้วยวิธีทับศัพท์
อาจได้เป็น 卡瑟纳瓦民 ซึ่งในที่นี้น่าจะดีกว่า แต่ก็ยังไม่แน่อยู่ดีว่าจะ
ท าให้ชาวจีนบอกทางไปสถานที่นั้นถูก หากจะใช้ถอดเสียงชื่อถนน
ประเสริฐมนูกิจ ก็ยังมีปัญหาอยู่บ้าง เพราะภาษาจีนไม่มีเสียงแม่กด
ั
ล่ามอาจพดเป็นภาษาจีนแบบทับศัพท์ให้ผู้ฟงชาวจีนจ าง่าย อาจพด
ู
ู
ภาษาไทยก ากับ และอาจใช้วิธีอธิบายเสริมประกอบให้ทราบพกัด
ิ
ชัดเจน
บทที่ 3 การแปลชื่อเฉพาะ 35